NOTE: Some content may not display correctly, including tables and figures. See PDF for full details.
AEDP2018
แผนพัฒนาพลงั งานทดแทนและพลังงานทางเลือก
พ.ศ. 2561 – 2580
(AEDP2018)
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ตุลาคม 2563
AEDP2018
แผนพัฒนาพลงั งานทดแทนและพลังงานทางเลือก
พ.ศ. 2561 – 2580
(AEDP2018)
ผ่านการพิจารณาจาก
คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) เห็นชอบเมื่อ วันที่ 19 มีนาคม 2563
สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) เมื่อ วันที่ 4 มถิ ุนายน 2563
คณะรัฐมนตรี (ครม.) เมื่อ วันท ี่ 20 ตุลาคม 2563
สารบัญ
หน้า
บทน า 1
- ความส าคัญ 1
- นโยบายที่เกี่ยวข้อง 3
- กรอบแนวคิดการจัดท าแผน 4
แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ. 2561 - 2580 5
- เป้าหมาย 5
- ตัวชี้วัด 5
- การพยากรณ์ความต้องการใช้พลังงาน 5
- การประเมินศักยภาพและแนวทางการจัดหาเชื้อเพลิง 5
4.1 ศักยภาพพลังงานตามธรรมชาติ 5
4.2 ศักยภาพวัตถุดิบพลังงานทดแทนคงเหลือ 8
4.3 ศักยภาพการจัดหาวัตถุดิบพลังงานทดแทนเพิ่มเติม 14
- แนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก 15
5.1 การผลิตไฟฟ้า 15
5.2 การผลิตความร้อน 19
5.3 การผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ 21
ปัจจัยสู่ความส าเร็จ 23
- ประเด็นที่ต้องเร่งขับเคลื่อน 23
- แนวทางการบริหารความเสี่ยง 27
ประโยชน์ต่อประเทศชาติและประชาชน 29
บรรณานุกรม 30
ภาคผนวก 32
บทน า
1. ความส าคัญ
การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการเพิ่มขึ้นของจ านวนประชากร เป็นปัจจัยส าคัญที่กระตุ้นให้เกิด การใช้พลังงานมากขึ้นเพื่อขับเคลื่อนกิจกรรมทางเศรษฐกิจและตอบสนองความต้องการต่างๆ เพื่อยกระดับ มาตรฐานความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นของประชาชน การจัดหาพลังงานให้เพียงพอกับความต้องการที่เพิ่มขึ้นและเป็น พลังงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเป็นพันธกิจส าคัญที่อยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงพลังงาน พลังงาน ทดแทนและพลังงานทางเลือกเป็นส่วนหนึ่งของการเสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงานจากการใช้แหล่งวัตถุดิบ พลังงานในประเทศเพื่อลดการน าเข้าและการพึ่งพาพลังงานจากปิโตรเลียม อันเป็นสาเหตุส าคัญของปัญหาการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ที่ผ่านมา ประเทศไทยมีนโยบายสนับสนุนการผลิตการใช้พลังงานทดแทนและ พลังงานทางเลือกในรูปของพลังงานไฟฟ้า ความร้อน และเชื้อเพลิงชีวภาพมาอย่างต่อเนื่อง จึงมีสัดส่วนการใช้ พลังงานดังกล่าวเพิ่มขึ้นทุกปี ที่มา: รายงานพลังงานทดแทนของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2561 กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน รูปที่ 1.1 การใช้พลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกระหว่าง ปีพ.ศ. 2557 - 2561
ในปี พ.ศ. 2561 มีการใช้พลังงานทดแทนทั้งสิ้น 12,996 พันตันเทียบเท่าน้ ามันดิบ เพิ่มขึ้นจากปีก่อน ร้อยละ 10.8 และคิดเป็นร้อยละ 15.48 ของการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย การใช้พลังงานทดแทนและพลังงาน ทางเลือกจะอยู่ในรูปของพลังงานความร้อนมากที่สุด คิดเป็นสัดส่วนมากกว่าร้อยละ 60 ของการใช้พลังงาน ทดแทนทั้งหมด รองลงมา ได้แก่ ไฟฟ้า และเชื้อเพลิงชีวภาพ โดยในปี พ.ศ. 2561 การใช้พลังงานความร้อนคิด เป็นร้อยละ 61 ไฟฟ้า และเชื้อเพลิงชีวภาพคิดเป็นร้อยละ 23 และ 16 ตามล าดับ
ตารางที่ 1.1 ผลการด าเนินงานด้านพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก ปี พ.ศ. 2559 - 2561
ชนิดพลังงาน | หน่วย | ผลการด าเนินงาน |
พ.ศ. 2559 | พ.ศ. 2560 | พ.ศ. 2561 |
ไฟฟ้า* | เมกะวัตต์ | 9,437 | 10,238 | 11,369 |
พันตันเทียบเท่าน ามันดิบ | 2,122 | 2,473 | 2,960 |
1. แสงอาทิตย์ | เมกะวัตต์ | 2,446.10 | 2,697.20 | 2,962.45 |
2. พลังงานลม | เมกะวัตต์ | 507.00 | 627.80 | 1,102.82 |
3. พลังน้ าขนาดเล็ก | เมกะวัตต์ | 182.10 | 182.30 | 187.72 |
4. ชีวมวล | เมกะวัตต์ | 2,814.70 | 3,157.30 | 3,372.93 |
5. ก๊าซชีวภาพ | เมกะวัตต์ | 434.90 | 475.40 | 505.24 |
6. ขยะ | เมกะวัตต์ | 145.30 | 191.50 | 317.82 |
7. พลังน้ าขนาดใหญ่ | เมกะวัตต์ | 2,906.40 | 2,906.40 | 2,919.66 |
ความร้อน | พันตันเทียบเท่าน ามันดิบ | 7,182 | 7,322 | 7,919 |
1. แสงอาทิตย์ | พันตันเทียบเท่าน้ ามันดิบ | 6.7 | 9.3 | 10.1 |
2. ชีวมวล | พันตันเทียบเท่าน้ ามันดิบ | 6,507 | 6,616 | 7,152 |
3. ก๊าซชีวภาพ | พันตันเทียบเท่าน้ ามันดิบ | 593 | 634 | 634 |
4. ขยะ | พันตันเทียบเท่าน้ ามันดิบ | 75 | 63 | 123 |
เชื อเพลิงชีวภาพ | ล้านลิตร/วัน | 7.1 | 7.7 | 8.4 |
พันตันเทียบเท่าน ามันดิบ | 1,747 | 1,936 | 2,117 |
1. เอทานอล | ล้านลิตร/วัน | 3.7 | 3.9 | 4.2 |
2. ไบโอดีเซล | ล้านลิตร/วัน | 3.4 | 3.8 | 4.2 |
การใช้พลังงานทดแทน (พันตันเทียบเท่าน ามันดิบ) | 11,051 | 11,731 | 12,996 |
การใช้พลังงานขั นสุดท้าย (พันตันเทียบเท่าน ามันดิบ) | 79,929 | 80,752 | 83,952 |
สัดส่วนพลังงานทดแทนต่อการใช้พลังงานขั นสุดท้าย (%) | 13.83 | 14.53 | 15.48 |
*รวมการผลิตไฟฟ้านอกระบบ
การเปลี่ยนผ่านสู่ยุคดิจิทัล การขับเคลื่อนนโยบายไทยแลนด์ 4.0 และแนวโน้มการเติบโตของ เทคโนโลยียานยนต์ ท าให้พลังงานไฟฟ้าจะทวีความส าคัญมากยิ่งขึ้นในอนาคต และอาจส่งผลต่อการพัฒนา เชื้อเพลิงชีวภาพในภาคขนส่ง รวมถึงเทคโนโลยีที่ทันสมัยและมีราคาถูกลงท าให้เกิดการเปลี่ยนพฤติกรรมของ ผู้ใช้พลังงานที่มีแนวโน้มจะผันตัวไปสู่การเป็นผู้ผลิตพลังงานเพื่อใช้เองและซื้อขายกันเองมากยิ่งขึ้น จึงจ าเป็นที่ จะต้องทบทวนแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน พร้อม ทั้งน าแนวโน้มทิศทางการใช้พลังงานในอนาคตมาร่วมพิจารณาก าหนดเป้าหมายการพัฒนาที่เหมาะสมด้วย
2. นโยบายที่เกี่ยวข้อง
กระทรวงพลังงานได้ทบทวนแผนบูรณาการพลังงานแห่งชาติ ซึ่งประกอบด้วยแผนพลังงาน 5 แผน ได้แก่ (1) แผนพัฒนาก าลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย (2) แผนอนุรักษ์พลังงาน (3) แผนพัฒนาพลังงาน ทดแทนและพลังงานทางเลือก (4) แผนการจัดหาก๊าซธรรมชาติของไทย และ (5) แผนบริหารจัดการน้ ามัน เชื้อเพลิง โดยพิจารณาทบทวนให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) และแผนการปฏิรูป ประเทศด้านพลังงาน ที่มุ่งเน้นการสร้างสมดุลระหว่างการพัฒนา ความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ซง่ึแผนพลังงานทั้ง 5 แผนมีความเชื่อมโยงและสอดคล้องซึ่งกันและกัน
การขับเคลื่อนการพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก ขึ้นอยู่กับความพร้อมของการจัดหา วัตถุดิบเพื่อผลิตพลังงานและเทคโนโลยีที่มีความเหมาะสมที่ผู้ผลิตสามารถเข้าถึงและด าเนินธุรกิจตามระเบียบ ที่ก าหนดได้ และมีความต้องการจากผู้ใช้ที่สามารถซื้อพลังงานทดแทนในราคาที่เหมาะสมเพื่อจูงใจให้เกิดการ ลงทุน ดังนั้น นโยบายและแผนงานของหน่วยงานต่างๆ จึงส่งผลต่อการวางแผนทั้งในการประเมินศักยภาพ การจัดหาและการส่งเสริมการผลิตการใช้พลังงานประเภทต่างๆ ได้แก่
2.1 นโยบายและแผนงานที่มีผลกระทบต่อการจัดหาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก
- ยุทธศาสตร์มันส าปะหลัง พ.ศ. 2558 – 2569
- ยุทธศาสตร์อ้อยโรงงานและน้ าตาลทราย พ.ศ. 2558 – 2569
- ยุทธศาสตร์การปฏิรูปปาล์มน้ ามันและน้ ามันปาล์มทั้งระบบ พ.ศ. 2560 – 2579
- ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การจัดการขยะมูลฝอยของประเทศไทย พ.ศ. 2560
- กฎกระทรวงก าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ในการขอและการพิจารณาให้ความยินยอมหรือ อนุญาตให้ใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดิน พ.ศ. 2560 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
2.2 นโยบายและแผนงานที่มีผลกระทบต่อการส่งเสริมการผลิตการใช้พลังงานทดแทนและพลังงาน ทางเลือก
- นโยบายรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก
- แผนแม่บทการพัฒนาระบบโครงข่ายสมาร์ทกริดของประเทศไทย พ.ศ. 2558-2579
- พระราชบัญญัติกองทุนน้ ามันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2562
- ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบคมนาคมขนส่ง ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580)
- นโยบายส่งเสริมรถยนต์ไฟฟ้า
2.3 นโยบายและแผนงานที่มีผลกระทบต่อเป้าหมายของแผน
- ความส าเร็จของการด าเนินงานตามแผนอนุรักษ์พลังงาน
- ความส าเร็จของการด าเนินงานตามแผนพัฒนาก าลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย
- ความส าเร็จของการด าเนินงานตามแผนบริหารจัดการน้ ามันเชื้อเพลิง
- ความส าเร็จของการด าเนินงานตามแผนการจัดหาก๊าซธรรมชาติของไทย
3. กรอบแนวคิดการจัดทา แผน
แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก ให้ความส าคัญในการส่งเสริมการผลิตพลังงานจาก
วัตถุดิบพลังงานทางเลือกที่มีอยู่ภายในประเทศ การพัฒนาศักยภาพการผลิตการใช้พลังงานทางเลือกด้วย เทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่ดีและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ในการปรับปรุงแผน
AEDP2018 นั้น มีกรอบแนวคิดการจัดท าแผนดังนี้
3.1 กรอบระยะเวลาสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580)
3.2 บูรณาการร่วมกับแผนของกระทรวงพลังงานประกอบด้วย แผนพัฒนาก าลังผลิตไฟฟ้าของประเทศ ไทย แผนอนุรักษ์พลังงาน แผนการจัดหาก๊าซธรรมชาติของไทย และแผนบริหารจัดการน้ ามัน เชื้อเพลิง
3.3 พิจารณาปัจจัยที่จะส่งผลต่อทิศทางการใช้พลังงานในอนาคต โดยปรับลดสัดส่วนการใช้เชื้อเพลิง ชีวภาพที่มีแนวโน้มจะลดลงจากการพัฒนายานยนต์ไฟฟ้าและโครงข่ายรถไฟฟ้า พร้อมทั้งปรับเพิ่ม สัดส่วนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกให้มากขึ้นจากการขยายตัวของ เศรษฐกิจฐานดิจิทัล
3.4 รักษาระดับเป้าหมายสัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกทั้งในรูปของพลังงานไฟฟ้า ความร้อน และเชื้อเพลิงชีวภาพร้อยละ 30 ของการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายในปี พ.ศ. 2580
แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ. 2561 – 2580
Alternative Energy Development Plan 2018 - 2037
1. เป้าหมาย
เพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกในรูปของพลังงานไฟฟ้า ความร้อน และ
เชื้อเพลิงชีวภาพ ต่อการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายที่ร้อยละ 30 ในปี พ.ศ. 2580
2. ตัวชี วัด การใช้พลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกต่อการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายร้อยละ 30 ในปี พ.ศ. 2580
3. การพยากรณ์ความต้องการใช้พลังงาน
การพยากรณ์ความต้องการใช้พลังงานของแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก ได้น าค่า พยากรณ์ความต้องการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายตามแผนอนุรักษ์พลังงานที่พยากรณ์ภายใต้สมมติฐานประมาณ การอัตราขยายตัวทางเศรษฐกิจระยะยาวตั้งแต่ปี พ.ศ. 2561 – 2580 ของส านักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ กรณีที่สามารถบรรลุเป้าหมายลดความเข้มการใช้พลังงานลงร้อยละ 30 ในปี 2580 เมื่อ เทียบกับปี 2553 แล้ว มีผลคาดการณ์ความต้องการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย ณ ปี 2580 อยู่ที่ระดับ 126,867 พันตันเทียบเท่าน้ ามันดิบ (ktoe) ซึ่งจะใช้เป็นฐานในการตั้งเป้าหมายการใช้พลังงานทดแทนและพลังงาน ทางเลือก โดยพยากรณ์ความต้องการพลังงานไฟฟ้าของประเทศจากแผนพัฒนาก าลังผลิตไฟฟ้าของประเทศ ไทย กรณีที่สามารถบรรลุเป้าหมายตามแผนอนุรักษ์พลังงานในปี 2580 จะมีค่า 250,204 ล้านหน่วยหรือ เทียบเท่า 21,320 ktoe พยากรณ์ความต้องการใช้เชื้อเพลิงในภาคขนส่งจากแผนบริหารจัดการน้ ามันเชื้อเพลิง ที่ไม่รวมการใช้ไฟฟ้าในภาคขนส่ง มีค่า 40,890 ktoe และค่าพยากรณ์ความต้องการใช้พลังงานความร้อน ในปี 2580 เท่ากับ 64,657 ktoe ตามล าดับ
4. การประเมินศักยภาพและแนวทางการจัดหาเชื อเพลิง
4.1 ศักยภาพพลังงานตามธรรมชาติ
พลังงานลม แสงอาทิตย์ และพลังน้ า เป็นศักยภาพตามธรรมชาติที่ขึ้นกับลักษณะของภูมิประเทศ และภูมิอากาศ การจะน าศักยภาพตามธรรมชาติเหล่านี้มาผลิตกระแสไฟฟ้าสู่ระบบสายส่งจ าเป็นต้องพิจารณา จากความพร้อมของโครงสร้างพื้นฐาน ได้แก่ ความสามารถของสายส่งในการรองรับไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน เป็นหลัก ทั้งนี้ หากต้องการพัฒนาพลังงานเหล่านี้เพื่อน ามาผลิตพลังงานใช้เองนอกระบบสายส่งในพื้นที่ที่มี ศักยภาพก็สามารถด าเนินการได้เช่นกัน ซึ่งจะเป็นการสนับสนุนการพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงาน ทางเลือกที่สอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงพลังงานด้วย
4.1.1 พลังงานแสงอาทิตย์ ศักยภาพพลังงานแสงอาทิตย์ หมายถึงปริมาณพลังงานแสงอาทิตย์ที่ตกกระทบบนพื้นที่
นั้นๆ ในเวลาหนึ่งวัน โดยมีหน่วยเป็นเมกะจูลต่อตารางเมตร-วัน (MJ/m2-day) กรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษ์พลังงานได้ด าเนินโครงการพัฒนาปรับปรุงแผนที่ศักยภาพพลังงานแสงอาทิตย์จากภาพถ่าย ดาวเทียมส าหรับประเทศไทยในปี พ.ศ. 2560 โดยใช้แบบจ าลองทางคณิตศาสตร์ส าหรับค านวณค่าความเข้ม รังสีดวงอาทิตย์จากข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมที่เก็บข้อมูลเป็นเวลา 15 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 – 2558 ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศ พบว่ามีศักยภาพแตกต่างกันตามพื้นที่และขึ้นอยู่กับอิทธิพลของลมมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือและลมมรสุมตะวันออกเฉียงใต้ ความเข้มรังสีดวงอาทิตย์ส่วนใหญ่กระจายตัวในช่วง 17 – 20 MJ/m2-day ดังแสดงในรูปที่ 4.1
25
| | 1 16.6 | 8.5 1 | 9.8 2 | 0.2 1 | 8.5 1 | 7.6 1 | 6.5 1 | 6.2 1 | 6.5 1 | 6.6 1 | 5.9 1 | 5.5 |
|
|
|
|
20
15 10 5
0
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
รูปที่ 4.1แผนภูมิแสดงค่าความเข้มรังสีดวงอาทิตย์เฉลี่ยทั่วประเทศในแต่ละเดือน จากการค านวณค่าความเข้มรังสีอาทิตย์เฉลี่ยตลอดทั้งปี ของประเทศไทยพบว่ามีค่า
เท่ากับ 17.6 MJ/m2-day ซึ่งมีค่าต่ ากว่าผลการศึกษาที่ผ่านมาในปี พ.ศ. 2542 และ ปี พ.ศ. 2553 ที่มีค่า ความเข้มรังสีอาทิตย์เฉลี่ย 18.2 และ 18.0 MJ/m2-day ตามล าดับ ปัจจัยส่วนหนึ่งอาจมาจากปริมาณฝุ่น ละอองในบรรยากาศที่มีค่าเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจากกิจกรรมของมนุษย์ หรือจากอุณหภูมิที่สูงขึ้นท าให้ปริมาณ ไอน้ าในบรรยากาศเพิ่มขึ้น จึงอาจลดทอนแสงอาทิตย์ที่เข้ามาถึงยังพื้นโลก อย่างไรก็ตาม ค่าความเข้มรังสี อาทิตย์เฉลี่ยตลอดทั้งปีของประเทศไทยมีค่าสูง สามารถน าไปใช้ประโยชน์เป็นพลังงานได้ในทุกพื้นที่ของ ประเทศทั้งในการผลิตพลังงานไฟฟ้าและพลังงานความร้อน โดยต้องออกแบบให้มีความเหมาะสมสอดคล้อง กันระหว่างความต้องการพลังงาน และความสามารถในการน าพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้ประโยชน์
4.1.2 พลังงานลม
ประเทศไทยตั้งอยู่บริเวณเส้นศูนย์สูตรจึงมีความเร็วลมค่อนข้างต่ า ดังนั้น การใช้พลังงาน ลมจะต้องคัดเลือกหรือพัฒนาเทคโนโลยีกังหันลมที่เหมาะสมกับสภาพของลมในประเทศไทย บริเวณที่มีลมแรง จะเป็นบริเวณพื้นที่แคบๆ ที่เกิดจากภูมิประเทศเฉพาะที่ เช่น เนินเขา ช่องเขา หรือยอดเขา ซึ่งจะช่วยเร่งให้ ความเร็วลมสูงขึ้น จากการศึกษาของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานในโครงการพัฒนา ปรับปรุงแผนที่ศักยภาพพลังงานลมส าหรับประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ. 2553 พบว่าที่ความสูง 90 เมตร พื้นที่ส่วน ใหญ่ของประเทศมีความเร็วลมเฉลี่ยที่ 4 – 5 เมตรต่อวินาที ดังแสดงในรูปที่ 4.2
รูปที่ 4.2 การกระจายตัวของพื้นที่ตามความเร็วลมที่ระดับความสูง 90 เมตร ภาคใต้มีความเร็วลมค่อนข้างสูงกว่าภาคอื่น โดยเฉพาะบริเวณแนวเขาตั้งแต่ภาคใต้
ตอนล่างและด้านตะวันตกของภาคใต้ตอนบน เนื่องจากได้รับลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้จากทะเลอันดามันและ ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือจากอ่าวไทยและมีสิ่งกีดขวางทางลมน้อย มีความเร็วลมเฉลี่ยรายปีในช่วง 6-7 เมตรต่อวินาที ส าหรับภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้รับลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบนและด้าน ตะวันออกของภาคที่มีลักษณะภูมิประเทศเป็นช่องเขาหรือเนินเขาจะมีความเร็วลมเฉลี่ย 6-7 เมตรต่อวินาที ในขณะที่ตอนกลางและตอนล่างซึ่งเป็นที่ราบสูงจะเป็นบริเวณลมสงบ ในภาคเหนือได้รับอิทธิพลจากลมมรสุม ค่อนข้างน้อย สามารถพบบริเวณที่มีความเร็วลม 5 เมตรต่อวินาทีได้ในบางพื้นที่จากอิทธิพลของลมภูเขาและ ลมหุบเขา ส าหรับภาคกลางทางด้านตะวันตกได้รับอิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ พบบริเวณที่ความเร็ว ลม 5-7 เมตรต่อวินาที เป็นบริเวณแคบๆ ตามแนวเขา ส่วนอื่นของภาคกลางเป็นที่ราบลุ่ม ลมสงบตลอดทั้งปี การพัฒนาพลังงานลมมีข้อจ ากัดหลายประการ อาทิ การขออนุญาตเข้าใช้ประโยชน์ในพื้นที่ ความสอดคล้อง ของความต้องการใช้ไฟฟ้าในพื้นที่ที่มีศักยภาพของพลังงานลม ซึ่งมักจะอยู่ห่างไกลชุมชน จึงมีความต้องการใช้ ไฟฟ้าค่อนข้างต่ า รวมถึงความคุ้มค่าต่อการลงทุน
4.1.3 พลังงานน า ประเทศไทยผลิตไฟฟ้าพลังน้ ามาเป็นเวลานานจนถึงปี พ.ศ. 2561 มีโรงไฟฟ้าพลังน้ า
ขนาดใหญ่ทั้งสิ้น 2,920 เมกะวัตต์ แม้ว่าปัจจุบันจะไม่สามารถพัฒนาโรงไฟฟ้าพลังน้ าขนาดใหญ่ขึ้นมาได้อีก ด้วยข้อจ ากัดของพื้นที่แต่ยังคงมีการพัฒนาโรงไฟฟ้าพลังน้ าขนาดเล็กอยู่ในพื้นที่ที่มีศักยภาพ โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อให้ชุมชนที่อยู่ห่างไกลมีพลังงานไฟฟ้าใช้จากแหล่งทรัพยากรในพื้นที่ เป็นการส่งเสริมให้ชุมชน ร่วมกันดูแลรักษาป่าต้นน้ า และช่วยเสริมสร้างความมั่นคงของระบบไฟฟ้าโดยจ่ายกระแสไฟฟ้าเข้าระบบ สายส่งไฟฟ้าแรงสูงของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค โดยกรมพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน มีแผนด าเนินโครงการไฟฟ้าพลังน้ าขนาดเล็กด้วยการปรับปรุงประสิทธิภาพเพื่อ เพิ่มก าลังการผลิตของโรงไฟฟ้าเดิมด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ทุ่นลอยน้ าและพัฒนาโรงไฟฟ้าพลังน้ าขนาดเล็ก และขนาดเล็กมาก ระหว่างปี พ.ศ. 2561 – 2580 จ านวน 371 เมกะวัตต์
ตารางที่ 4.1 เป้าหมายก าลังการผลิตติดตั้งของโรงไฟฟ้าพลังน้ า ระหว่างปี พ.ศ. 2561 – 2580
โครงการ | ก าลังผลิตติดตงั (เมกะวัตต์) |
โครงการปรับปรุงประสทิ ธิภาพ/เพิ่มก าลังผลิตด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ทุ่นลอยน้ า | 336 |
โครงการไฟฟ้าพลังน้ าขนาดเล็ก (ก าลังการผลิตตั้งแต่ 200 กิโลวัตต์ขึ้นไป) | 29 |
โครงการไฟฟ้าพลังน้ าขนาดเล็กมาก (ก าลังการผลิตตงั้ แต่ 20 - 200 กิโลวัตต์) | 6 |
รวม | 371 |
4.1.4 พลังงานความร้อนใต้พิภพ แหล่งน้ าพุร้อนจากความร้อนใต้พิภพของประเทศไทยมีจ านวน 120 แหล่ง มีศักยภาพใน
การผลิตไฟฟ้าประมาณ 43,000 กิโลวัตต์ กว่าร้อยละ 90 ของศักยภาพทั้งประเทศกระจายตัวอยู่ในพื้นที่ ภาคเหนือ จังหวัดที่มีศักยภาพการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานความร้อนใต้พิภพสูง ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ 24,173 กิโลวัตต์ จังหวัดแม่ฮ่องสอน 9,951 กิโลวัตต์ จังหวัดเชียงราย 4,123 กิโลวัตต์ และ จังหวัดล าปาง 2,018 กิโลวัตต์ เป็นต้น การใช้ประโยชน์จากแหล่งน้ าพุร้อนจะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของอุณหภูมิ อัตราการไหล และคุณสมบัติทางเคมีของน้ าพุร้อนในแต่ละแหล่ง การใช้ประโยชน์จากแหล่งน้ าพุร้อนเพื่อผลิต พลังงานในปัจจุบันคือ แหล่งน้ าพุร้อนฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ก าลังการผลิตติดตั้ง 300 กิโลวัตต์ ด าเนินการโดย การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
4.2 ศักยภาพวัตถุดิบพลังงานทดแทนคงเหลือ
4.2.1 ชีวมวล กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานได้ประเมินศักยภาพชีวมวลจากเศษวัสดุ
ทางการเกษตรในประเทศในปี พ.ศ. 2561 โดยแบ่งออกเป็นชีวมวลที่เกิดขึ้นในอุตสาหกรรมแปรรูปผลผลิตทาง การเกษตรและชีวมวลที่เกิดขึ้นบริเวณพื้นที่เพาะปลูก ดังนี้
1) ชีวมวลที่เกิดขึ้นในอุตสาหกรรมแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร อาทิเช่น กากอ้อย
จากอุตสาหกรรมน้ าตาล แกลบจากโรงสีข้าว ใยปาล์มและทะลายปาล์มเปล่าที่ได้จากอุตสาหกรรมสกัดน้ ามัน ปาล์มดิบ เป็นต้น ชีวมวลเหล่านี้ส่วนใหญ่ถูกน าไปใช้เพื่อผลิตพลังงานหรือจ าหน่ายเป็นเชื้อเพลิงแล้วเกือบ ทั้งหมด เช่น กากอ้อยถูกใช้เป็นเชื้อเพลิงส าหรับผลิตไฟฟ้าและไอน้ าในอุตสาหกรรมน้ าตาล หรือแกลบที่ เกิดขึ้นในโรงสีข้าวขนาดใหญ่ถูกจ าหน่ายให้โรงไฟฟ้าชีวมวลส าหรับใช้เป็นเชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้า เป็นต้น
2) ชีวมวลที่เกิดขึ้นบริเวณพื้นที่เพาะปลูก จะเกิดจากชีวมวลส่วนที่เหลือภายหลังจาก
การเก็บเกี่ยวผลผลิตของเกษตรกร ได้แก่ เหง้ามันส าปะหลัง ฟางข้าว ยอดและใบอ้อย ตอและรากไม้ ยางพารา เป็นต้น ชีวมวลเหล่านี้ไม่นิยมน ามาผลิตพลังงานเนื่องจากมีต้นทุนสูงในการรวบรวมและขนส่งจาก พื้นที่เพาะปลูกไปยังสถานที่ใช้งานที่อยู่ห่างไกล ชีวมวลเหล่านี้จึงมักถูกทิ้งไว้ในพื้นที่เพาะปลูกเพื่อให้ย่อยสลาย กลายเป็นสารปรับปรุงดิน หรือถูกเผาท าลายในพื้นที่เพาะปลูก
ตารางที่ 4.2 ชีวมวลคงเหลือที่มีความเป็นไปได้ในการน าไปใช้เป็นพลังงาน ปี พ.ศ. 2560
ประเภทชีวมวล | ชีวมวลที่เกิดขึ น | ชีวมวลที่ถูกน าไปใช้แล้ว (ตันต่อปี) | ชีวมวลคงเหลือ |
(ตัน/ปี) | ภาคเกษตรกรรม | ภาคอุตสาหกรรม | (ตัน/ปี) | (ktoe/ปี) |
แกลบ | 8,974,554 | 2,620,273 | 6,354,281 | - | - |
ฟางข้าว | 43,056,371 | 15,371,125 | - | 27,685,245 | 6,993 |
ชานอ้อย | 65,526,016 | - | 65,526,016 | - | - |
ใบ/ยอดอ้อย | 45,194,485 | - | - | 45,194,485 | 11,802 |
กากมันส าปะหลัง | 20,512,651 | - | 20,512,651 | - | - |
เหง้ามันส าปะหลัง | 5,964,933 | - | - | 5,964,933 | 2,363 |
ล าต้น (ยอดและใบ) | 15,214,725 | - | - | 15,214,725 | 1,738 |
ทะลายปาล์ม | 298,036 | 101,887 | 187,868 | 8,281 | 1 |
ใยปาล์ม | 196,195 | 77,117 | 112,810 | 6,268 | 2 |
กะลาปาล์ม | 83,870 | 29,766 | 51,684 | 2,419 | 1 |
ทางปาล์ม | 357,741 | - | - | 357,741 | 141 |
ล าต้น | 30,155,059 | - | - | 30,155,059 | 5,431 |
ขี เลื่อย | 2,680,185 | - | 2,680,185 | - | - |
เศษไม้/ปีกไม้ | 12,680,443 | - | 12,680,443 | - | - |
ใบ | 2,400,519 | - | - | 2,400,519 | 924 |
กิ่ง | 56,731 | - | - | 56,731 | 26 |
ล าต้นที่ตัดทิ ง | 5,086,331 | - | 5,086,331 | - | - |
รากไม้ | 16,414,619 | - | - | 16,414,619 | 7,100 |
กะลา | 84,308 | - | 84,308 | - | - |
ใยมะพร้าว | 20,972 | - | 20,972 | - | - |
จั่นมะพร้าว | 480,477 | - | - | 480,476 | 185 |
ทางมะพร้าว | 780,489 | - | - | 780,489 | 318 |
ซังข้าวโพด | 2,165,534 | - | 2,165,534 | - | - |
เปลือก | 2,280,773 | - | 2,280,773 | - | - |
ล าต้น/ใบ | 14,779,405 | - | - | 14,779,405 | 5,581 |
เปลือกไม้ | 596,874 | - | 596,874 | - | - |
ปลายยอดใบ | 298,177 | - | - | 298,177 | 4 |
รวม | 296,340,473 | 18,200,169 | 118,340,730 | 159,799,575 | 42,610 |
4.2.2 ขยะ กรมควบคุมมลพิษได้แสดงข้อมูลปริมาณขยะมูลฝอยทั่วประเทศของไทยในปี พ.ศ. 2561
ว่ามีขยะมูลฝอยเกิดขึ้นประมาณ 27.93 ล้านตัน หรือประมาณ 76,529 ตันต่อวัน เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของประชากร การขยายตัวของชุมชนเมือง การส่งเสริมการท่องเที่ยวการบริโภคที่มากขึ้น ส่งผลให้ปริมาณขยะมูลฝอยในหลายพื้นที่เพิ่มมากขึ้น การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการขยะมูลฝอยทั้งระบบจึง มีความส าคัญ ในปี พ.ศ. 2561 กระทรวงมหาดไทยโดยกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นมีนโยบายให้ทุกจังหวัด รวมกลุ่มพื้นที่ในการจัดการขยะมูลฝอย (Clusters) ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจ านวนกว่า 7,800 แห่ง ทั่วประเทศ โดยแบ่งกลุ่มพื้นที่ตามปริมาณขยะรวม 324 กลุ่ม ดังนี้
(1) กลุ่มพื้นที่การจัดการมูลฝอยขนาดใหญ่ ขยะมากกว่า 500 ตันต่อวัน จ านวน 10 กลุ่ม
(2) กลุ่มพื้นที่การจัดการมูลฝอยขนาดกลาง ขยะมากกว่า 300 แต่ไม่เกิน 500 ตันต่อวัน 11 กลุ่ม
(3) กลุ่มพื้นที่การจัดการมูลฝอยขนาดเล็ก ขยะน้อยกว่า 300 ตันต่อวัน จ านวน 303 กลุ่ม กระทรวงมหาดไทยได้ประเมินสถานะโครงการก าจัดขยะเพื่อผลิตไฟฟ้าของกลุ่มพื้นที่
จ านวน 56 โครงการ ว่ามีศักยภาพในการผลิตไฟฟ้าเพื่อขายเข้าสู่ระบบสายส่งภายในปี พ.ศ. 2568 จ านวน 400 เมกะวัตต์ กลุ่มพื้นที่ที่เหลืออาจมีศักยภาพในการรวบรวมขยะเพื่อน าไปใช้ประโยชน์ผลิตพลังงานประเภท อื่นๆ ได้แก่ พลังงานความร้อน และน้ ามันไพโรไลซิสจากขยะพลาสติก เป็นต้น ที่ผ่านมามีการน าขยะไปใช้เป็น เชื้อเพลิงเพื่อผลิตพลังงานความร้อนโดยเฉพาะในอุตสาหกรรมผลิตปูนซีเมนต์ที่น าขยะเชื้อเพลิง (Refuse Derived Fuel : RDF) ไปใช้ทดแทนเชื้อเพลิงจากถ่านหินบางส่วนในกระบวนการผลิต ความต้องการ ใช้ RDF จะขึ้นอยู่กับราคาของถ่านหิน หากถ่านหินมีราคาสูงปริมาณการใช้ RDF ก็จะสูงขึ้นตามไปด้วย ในส่วนของขยะอุตสาหกรรม ข้อมูลจากส านักบริหารจัดการกากอุตสาหกรรม
กรมโรงงานอุตสาหกรรม พบว่าในปี 2560 มีกากอุตสาหกรรมที่ไม่เป็นอันตราย 32.95 ล้านตัน และกาก อุตสาหกรรมที่เป็นอันตราย 1.95 ล้านตัน การน าขยะอุตสาหกรรมมาผลิตเป็นพลังงานด้วยเทคโนโลยีที่ เหมาะสมจะเป็นส่วนหนึ่งในการส่งเสริมให้น าขยะอุตสาหกรรมเข้าสู่ระบบการจัดการขยะที่ถูกต้องด้วย
4.2.3 ก๊าซชีวภาพ แหล่งผลิตก๊าซชีวภาพที่ส าคัญคือน้ าเสียโรงงานอุตสาหกรรมและฟาร์มปศุสัตว์ซึ่ง
ส่วนใหญ่มีสารอินทรีย์เป็นองค์ประกอบหลักที่เมื่อถูกย่อยสลายด้วยกระบวนการทางชีวภาพในสภาวะที่ไม่มี ออกซิเจน ท าให้เกิดก๊าซชีวภาพที่มีก๊าซมีเทนเป็นองค์ประกอบส าคัญ สามารถน ามาใช้เป็นเชื้อเพลิงทดแทน ก๊าซหุงต้ม น้ ามันเตา และไฟฟ้า ในกระบวนการผลิต ที่ผ่านมาโรงงานในกลุ่มอุตสาหกรรมเกษตรและ ฟาร์มปศุสัตว์ได้น าก๊าซชีวภาพจากน้ าเสียของเสียมาใช้ประโยชน์เพื่อผลิตเป็นพลังงานแล้วเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งช่วยลดต้นทุนด้านเชื้อเพลิงให้กับผู้ประกอบการและสร้างรายได้จากการขายไฟฟ้าส่วนที่เหลือ น้ าเสียที่ผ่าน กระบวนการบ าบัดแบบไม่ใช้ออกซิเจนจะมีคุณภาพน้ าที่ดีขึ้น จึงช่วยลดผลกระทบต่อชุมชนโดยรอบโรงงาน และฟาร์มปศุสัตว์ได้อีกด้วย
ประเภท อุตสาหกรรม | จ านวน1 (แห่ง) | ประมาณการปริมาณ น าเสียที่ผลิตได้1 (ล้านลูกบาศก์เมตรต่อป)ี | ประมาณการปริมาณ ก๊าซชีวภาพที่ผลิตได้1 (ล้านลูกบาศก์เมตรต่อป)ี |
1. แป้งมันส าปะหลัง | 118 | 203 | 1,618 |
2. น้ ามันปาล์ม | 183 | 21 | 577 |
3. เอทานอล | 26 | 19 | 571 |
4. น้ ายางข้น | 92 | 20 | 53 |
5. แปรรูปอาหาร | 149 | 3 | 5 |
รวมก๊าซชีวภาพน าเสียอุตสาหกรรม | 2,824 |
ประเภท ฟาร์มปศุสัตว์ | จ านวน2 (ล้านตัว) | ประมาณการปริมาณ มูลสัตว์ที่ได้1 (ล้านตันต่อป)ี | ประมาณการปริมาณ ก๊าซชีวภาพที่ผลิตได้1 (ล้านลูกบาศก์เมตรต่อป)ี |
1. สุกร | 10 | 3.53 | 188 |
2. โคเนื้อ/โคนม | 6 | 7.70 | 316 |
3. กระบือ | 1 | 1.70 | 66 |
4. ไก่ | 456 | 3.98 | 215 |
รวมก๊าซชีวภาพน าเสียฟาร์มปศุสัตว์ | 785 |
รวมก๊าซชีวภาพน าเสียอุตสาหกรรมและฟาร์มปศุสัตว์ | 3,609 |
ปริมาณก๊าซชีวภาพที่ถูกน าไปใช้ผลิตพลังงานแล้ว3 | 2,470 |
ปริมาณศักยภาพก๊าซชีวภาพคงเหลือ | 1,139 |
ตารางที่ 4.3 ก๊าซชีวภาพคงเหลือที่มีความเป็นไปได้ในการน าไปใช้เป็นพลังงานปี พ.ศ. 2561 ที่มา : 1ข้อมูลจากกองวิจัยค้นคว้าพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน 2ข้อมูลจ านวนปศุสัตว์ในประเทศไทย ปี 2561 กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
3ข้อมูลจากรายงานพลังงานทดแทนของประเทศไทย 2561 กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
4.2.4 ไบโอดีเซล การส่งเสริมการผลิตการใช้เชื้อเพลิงชีวภาพของประเทศไทยเป็นการน าผลผลิตส่วนที่ เหลือจากการบริโภคภายในประเทศและการส่งออกมาเป็นวัตถุดิบในการผลิตเชื้อเพลิงเพื่อทดแทนการใช้ น้ ามันปิโตรเลียม ช่วยสร้างสมดุลระหว่างการน าผลผลิตทางการเกษตรไปผลิตอาหารและพลังงานที่เกิด ประโยชน์สูงสุดต่อประเทศ โดยน้ ามันปาล์มเป็นวัตถุดิบหลักในการผลิตไบโอดีเซล การประเมินศักยภาพวัตถุดิบในการผลิตไบโอดีเซลพิจารณาตามการทบทวนยุทธศาสตร์
การปฏิรูปปาล์มน้ ามันและน้ ามันปาล์มทั้งระบบ ตามมติคณะกรรมการนโยบายปาล์มน้ ามันแห่งชาติ (กนป.) โดยปรับระยะเวลาให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติเป็นปี 2561 – 2580 โดยจะไม่ขยายพื้นที่ปลูกแต่เพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิต ที่ก าหนดเป้าหมายด าเนินการ ดังนี้
- เพิ่มเปอร์เซ็นต์น้ ามัน ในปี พ.ศ. 2563 เป็นร้อยละ 19 และเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในปลายแผนปี พ.ศ. 2580 เป็นร้อยละ 23
- เพิ่มผลผลิตต่อไร่ ปลายแผนมีเป้าหมายเป็น 3.7 ตัน/ไร่/ปี
- เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ขยายพื้นที่ในระบบแปลงใหญ่ และกลุ่มผลิตปาล์มน้ ามันคุณภาพ จากเป้าหมายดังกล่าวสามารถประเมินศักยภาพน้ ามันปาล์มเพื่อผลิตไบโอดีเซลได้ดังนี้
ตารางที่ 4.4 ศักยภาพน้ ามันปาล์มเพื่อผลิตไบโอดีเซล ปี พ.ศ. 2561 – 2580
ปี | ระยะสั น 2561 - 2565 | ระยะกลาง 2566 - 2570 | ระยะยาว 2571 - 2580 |
2571- 2575 | 2576 - 2580 |
%น้ ามัน1 | 19 - 20 | 20 - 22 | 22 | 23 |
ผลผลติ ต่อไร่ (ตัน) 1 | 3.0 – 3.1 | 3.2 – 3.4 | 3.4 – 3.5 | 3.6 – 3.7 |
ผลผลติ ปาล์มนา้ มัน (ลา้ นตนั /ปี) 1 | 15.39 – 18.47 | 19.02 – 20.57 | 20.88 – 21.53 | 21.62 – 22.86 |
ผลผลติ นา้ มันปาล์มดิบ (ล้านตนั /ปี) 1 | 2.78 – 3.69 | 3.80 – 4.53 | 4.59 – 4.74 | 4.97 – 5.26 |
การใช้เพื่อการบริโภคและอุตสาหกรรม (ล้านตัน/ปี) 1 | 1.23 – 1.33 | 1.35 – 1.46 | 1.49 – 1.62 | 1.65 – 1.78 |
น้ ามันปาล์มดิบคงเหลือ (ล้านตนั /ปี)2 | 1.55 – 2.36 | 2.45 – 3.07 | 3.10 – 3.12 | 3.32 – 3.48 |
ไบโอดีเซลสูงสดุ ที่ผลติ ได้ (ล้านลิตร/วัน)3 | 4.88 - 7.44 | 7.72 - 9.67 | 9.77 - 9.83 | 10.46 - 10.96 |
ที่มา : 1ยุทธศาสตร์การปฏิรูปปาล์มน้ ามันและน้ ามันปาล์มทั้งระบบ พ.ศ. 2561 - 2580
2คิดน้ ามันปาล์มดิบคงเหลือโดยยังไม่ได้หักปริมาณการส่งออกและอุตสาหกรรมโอลิโอเคมีคอล
3ค านวณโดยคิดการผลิตไบโอดีเซล ชนิด Fatty Acid Methyl Esters (FAME)
(น้ ามันปาล์มดิบ 1 กก. ผลิตไบโอดีเซลได้ 1.15 ลิตร)
เมื่อพิจารณาเป้าหมายตามการทบทวนยุทธศาสตร์การปฏิรูปปาล์มน้ ามันและน้ ามัน ปาล์มทั้งระบบ ปี 2561 – 2580 จะพบว่าปริมาณผลผลิตปาล์มน้ ามันและน้ ามันปาล์มที่เพิ่มขึ้นเกิดจากการ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต โดยการเพิ่มผลผลิตต่อไร่และเพิ่มเปอร์เซนต์น้ ามัน ซึ่งจะมีน้ ามันปาล์มดิบคงเหลือ หลังจากการบริโภคที่สามารถน ามาผลิตเป็นไบโอดีเซลได้ราว 11 ล้านลิตรต่อวันในปี พ.ศ. 2580
4.2.5 ไบโอเอทานอล กระทรวงพลังงานสนับสนุนให้น าผลผลิตทางการเกษตรส่วนเกินที่เหลือใช้จากการ
บริโภคภายในประเทศและการส่งออกแล้วมาเป็นวัตถุดิบในการผลิตไบโอเอทานอลเชิงพาณิชย์ ได้แก่ กากน้ าตาลซึ่งเป็นผลพลอยได้จากการผลิตน้ าตาลจากอ้อย และมันส าปะหลัง เพื่อไม่ให้กระทบกับปริมาณ ผลผลิตทางการเกษตรที่จะต้องใช้เพื่อเป็นอาหารส าหรับการบริโภค โดยพิจารณาปริมาณวัตถุดิบที่จะน ามาใช้ ผลิตไบโอเอทานอลเป็นเชื้อเพลิงตามยุทธศาสตร์สินค้าเกษตรเป็นรายพืชเศรษฐกิจ 4 สินค้า (Roadmap) ดังนี้
1)ยุทธศาสตร์มันส าปะหลัง พ.ศ. 2558 - 2569 มีเป้าหมายคงพื้นที่เพาะปลูกมัน
ส าปะหลัง 8.5 ล้านไร่ และเพิ่มผลผลิตมันส าปะหลังจาก 3.5 ตันต่อไร่ต่อปี ในปี 2557 เป็น 5 ตันต่อไร่ต่อปี ในปี 2562 และ 7 ตันตอ่ไร่ตอ่ปี ในปี 2569 ซึ่งคาดว่าจะท าให้ผลผลิตมันส าปะหลังเพิ่มขึ้นเป็น 42.5 ล้านตัน และ 59.5 ล้านตันในปี 2562 และ 2569 ตามล าดับ ปริมาณมันส าปะหลังที่คาดว่าจะน ามาใช้ผลิตเป็น ไบโอเอทานอลได้ประเมินโดยค านึงถึงมันส าปะหลังที่ใช้ในการบริโภคในประเทศและอุตสาหกรรมแปรรูปมัน ส าปะหลังในประเทศแล้ว
2) ยุทธศาสตร์อ้อยโรงงานและน้ าตาลทราย พ.ศ. 2558 – 2569 มีเป้าหมายเพิ่มพื้นที่
ปลูกอ้อยจาก 10 ล้านไร่เป็น 16 ล้านไร่ โดยคาดว่าจะให้ผลผลิตอ้อยได้ 182 ล้านตันในปี พ.ศ. 2569 ปริมาณ กากน้ าตาลที่คาดว่าจะใช้ผลิตไบโอเอทานอลได้ประเมินโดยค านึงถึงกากน้ าตาลที่ใช้ในการบริโภคในประเทศ แล้ว เช่น ในการผลิตสุรา อาหารสัตว์ และผงชูรส เป็นต้น และในอนาคตจะมีการใช้น้ าอ้อยหรือน้ าเชื่อมมาเป็น วัตถุดิบในการผลิตเอทานอลด้วย
ศักยภาพมันสา ปะหลงั และกากน้ าตาล | 2560 | 2561 | 2562 | 2569 |
มันส าปะหลัง1 | | | | |
- เป้าหมายพื้นที่ปลูก (ล้านไร่) | 8.911 | 8.321 | 8.721 | 8.5[1] |
- ผลผลติ มันสา ปะหลัง (ล้านตัน/ปี) | 30.491 | 29.371 | 31.551 | 59.52 |
- การใช้เพื่อการบริโภค (ล้านตนั /ปี) | 8.331 | 10.881 | 12.272 | 18.062 |
- มันส าปะหลังคงเหลือเพื่อผลิตเอทานอล (ลา้ นตนั /ป)ี | 3.27 | 2.72 | 2.932 | 5.712 |
- เอทานอลที่ผลติ ได้ (ล้านลิตร/วัน) | 1.43 | 1.19 | 1.28 | 2.50 |
กากน าตาล2 | | | | |
- เป้าหมายพื้นที่ปลูก (ล้านไร่) | 9.86[2] | 11.183 | 11.463 | 16[3] |
- ผลผลติ อ้อย (ล้านตัน/ปี) | 92.953 | 134.923 | 130.983 | 1824 |
- กากน้ าตาลเพื่อการบริโภค (ลา้ นตนั /ป)ี | 1.003 | 1.003 | 1.003 | 1.003 |
- กากน้ าตาลคงเหลือเพื่อผลิตเอทานอล (ลา้ นตัน/ปี) | 2.89 | 4.48 | 4.87[4] | 7.195 |
- เอทานอลที่ผลติ ได้ (ล้านลิตร/วัน) | 2.57 | 2.87 | 3.19 | 4.72 |
รวมเอทานอลทั งหมดที่ผลิตได ้ (ล้านลิตร/วัน) | 4.00 | 4.06 | 4.47 | 7.22 |
ตารางที่ 4.5ศักยภาพมันส าปะหลังและกากน้ าตาลเพื่อผลิตเอทานอล ปี พ.ศ. 2560-2569 ที่มา : 1ข้อมูลจากรายงานสถิติการเกษตรของประเทศไทย ปี 2561 ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร
4.3 ศักยภาพการจัดหาวัตถุดิบพลังงานทดแทนเพิ่มเติม
4.3.1 ไม้โตเร็ว ชีวมวลที่เกิดขึ้นในอุตสาหกรรมแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรส่วนใหญ่ถูกน าไปใช้เพื่อ
ผลิตพลังงานหรือจ าหน่ายเป็นเชื้อเพลิงแล้วเกือบทั้งหมด ในขณะที่ชีวมวลส่วนที่เหลือภายหลังการเก็บเกี่ยว ผลผลิตทางการเกษตรในพื้นที่เพาะปลูกก็ไม่เป็นที่นิยมในการน ามาใช้ผลิตเป็นพลังงาน เนื่องจากมีต้นทุนใน การรวบรวมและขนส่งสูง ท าให้ชีวมวลที่สามารถน ามาใช้เป็นเชื้อเพลิงได้จึงมีอยู่อย่างจ ากัด การปลูกไม้โตเร็ว จึงเป็นทางเลือกหนึ่งที่จะช่วยเสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงานได้ในอนาคต โดยเป็นเชื้อเพลิงที่สามารถจัดหา ได้ในปริมาณมากและคงที่ทุกฤดูกาลตลอดปีจากพันธุ์ไม้โตเร็วที่สามารถปลูกได้ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ ในปี พ.ศ. 2559 – 2560 คณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านพลังงาน สภาขับเคลื่อนการปฏิรูป ประเทศ ได้เสนอรายงานการศึกษาพื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกไม้โตเร็วทั่วประเทศว่ามีศักยภาพราว 51 ล้าน ไร่ พื้นที่ที่พิจารณาประกอบด้วย
- พื้นที่รกร้างว่างเปล่า นาร้าง และทิ้งร้าง ไม่ได้ใช้ประโยชน์ในปัจจุบัน
- พื้นที่ท าการเกษตรนอกเขตชลประทานที่รัฐบาลไม่ส่งเสริมให้ท านาในช่วงฤดูแล้ง
- พื้นที่ท านาและพื้นที่ท าไร่ที่มีผลผลิตต่ าหรือราคาตกต่ า
- ที่ดินส านักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ที่ยังไม่ได้ใช้ประโยชน์
- พื้นที่ป่าเสื่อมโทรมในความดูแลของกรมป่าไม้ - พื้นที่ที่รัฐบาลมีนโยบายปลูกพืชทดแทน 4.2 ล้านไร่
พื นที่ที่มีศักยภาพปลูกไม้โตเร็ว | ที่มา | จ านวนที่ดิน (ล้านไร่) | ศักยภาพการผลิตไฟฟ้า (เมกะวัตต)์ |
ขั นต่ า[5] | ขั นสูง[6] |
1. นาดอนนอกเขตชลประทาน | กรมพัฒนาที่ดนิ | 19 | 3,800 | 9,500 |
2. พื้นที่ทา ไร่ผลผลิตต่ า | กรมพัฒนาที่ดนิ | 6.1 | 1,220 | 3,050 |
3. พื้นที่ที่รัฐบาลมนี โยบายปลูกพชื ทดแทน | กรมพัฒนาที่ดนิ | 4.2 | 840 | 2,100 |
4. พื้นที่ทิ้งรา้ ง นาร้าง และรกร้างวา่ งเปลา่ | กรมพัฒนาที่ดนิ | 10 | 2,000 | 5,000 |
5. พื้นที่ที่ดนิ ส.ป.ก. | ส.ป.ก. | 1.7 | 340 | 850 |
6. ที่ดินกรมป่าไม้ (ที่ดนิ ปา่ เสื่อมโทรม ระหว่าง ขออนุมัติให้ใช้ส าหรับปลูกไม้เศรษฐกิจได้) | กรมป่าไม้ | 10 | 2,000 | 5,000 |
รวม | 51 | 10,200 | 25,500 |
ตารางที่ 4.6ศักยภาพของพื้นที่ปลูกไม้โตเร็วและศักยภาพการผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานชีวมวล1ที่มา : 1รายงานของคณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านพลังงาน สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ
อย่างไรก็ตาม พื้นที่ที่มีศักยภาพดังกล่าวสามารถน าไปพัฒนาเป็นแหล่งผลิตพลังงาน
ทดแทนอื่นได้ด้วยนอกจากการปลูกไม้โตเร็ว เช่น การปลูกพืชพลังงานผลิตก๊าซชีวภาพ การติดตั้งกังหันเพื่อ ผลิตพลังงานจากลม และการติดตั้งแผงโซลาร์เซลล์เพื่อผลิตพลังงานจากแสงอาทิตย์ เป็นต้น ซึ่งจะต้อง พิจารณาปัจจัยแวดล้อมอื่นที่เกี่ยวข้องทั้งโครงสร้างพื้นฐานที่จะรองรับการพัฒนาการผลิตการใช้พลังงานใน รูปแบบต่างๆ รวมถึงโอกาสการพัฒนาพื้นที่ดังกล่าวไปใช้ประโยชน์ในวัตถุประสงค์อื่นๆ ที่มีความเหมาะสมตาม นโยบายรัฐบาล
5. แนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก
5.1 การผลิตไฟฟ้า
5.1.1 การรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกตาม PDP2018 Rev.1 การพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกเข้าสู่ระบบสายส่งขึ้นอยู่กับความ พร้อมของโครงสร้างพื้นฐานที่จะรองรับที่ต้องพิจารณาปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ความต้องการใช้ไฟฟ้ารายสถานี ไฟฟ้า ความสามารถของสายส่งในการรองรับไฟฟ้าที่ผลิตจากพลังงานทดแทนรายสถานีไฟฟ้า และการ จัดล าดับการรับซื้อไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงพลังงานทดแทนตามนโยบายรัฐบาล นโยบายส าคัญในการปรับเป้าหมาย การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนของแผนพัฒนาก าลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ. 2561 – 2580 ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 (PDP2018 Rev.1) คือ โครงการโรงไฟฟ้าชุมชนเพื่อเศรษฐกิจฐานรากที่ค านึงถึง ประโยชน์ที่ชุมชนจะได้รับทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม ก าหนดเปิดรับซื้อไฟฟ้าระหว่างปี พ.ศ. 2563 - 2567 โดยมีเป้าหมายก าลังการผลิตของโรงไฟฟ้าชุมชนที่จะรับซื้อรวม 1,933 เมกะวัตต์ ประกอบ ไปด้วยโรงไฟฟ้าที่ผลิตด้วยเชื้อเพลิงชีวมวล 600 เมกะวัตต์ ก๊าซชีวภาพจากน้ าเสีย 183 เมกะวัตต์ ก๊าซชีวภาพ
จากพืชพลังงาน 600 เมกะวัตต์ รวมทั้งพลังงานแสงอาทิตย์ ในรูปแบบผสมผสาน (Hybrid) กับชีวมวล และ/หรือ ก๊าซชีวภาพจากน้ าเสีย และ/หรือ ก๊าซชีวภาพจากพืชพลังงาน 550 เมกะวัตต์ ตารางที่ 5.1 เป้าหมายก าลังการผลิตใหม่ของโรงไฟฟ้าชุมชนเพื่อเศรษฐกิจฐานรากตาม PDP2018 Rev.1
ปี พ.ศ. | 2563 | 2564 | 2565 | 2566 | 2567 |
ก าลังการผลิต (เมกะวัตต)์ | รายปี | สะสม | รายปี | สะสม | รายปี | สะสม | รายปี | สะสม | รายปี | สะสม |
ชีวมวล | 200 | 200 | 100 | 300 | 100 | 400 | 100 | 500 | 100 | 600 |
ก๊าซชีวภาพ (น้ าเสีย/ของเสีย) | 100 | 100 | 50 | 150 | 33 | 183 | - | 183 | - | 183 |
ก๊าซชีวภาพ (พืชพลังงาน) | 200 | 200 | 100 | 300 | 100 | 400 | 100 | 500 | 100 | 600 |
พลังงานแสงอาทิตย์ (Hybrid) | 200 | 200 | 100 | 300 | 90 | 390 | 80 | 470 | 80 | 550 |
รวม | 700 | 700 | 350 | 1,050 | 323 | 1,373 | 280 | 1,653 | 280 | 1,933 |
ภาพรวมแผนพัฒนาก าลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ. 2561 – 2580 ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 1 (PDP2018 Rev.1) ได้ก าหนดเป้าหมายก าลังการผลิตใหม่ของโรงไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนและ พลังงานทางเลือกที่รวมโครงการโรงไฟฟ้าชุมชนเพื่อเศรษฐกิจฐานรากแล้ว จ านวนทั้งสิ้น 18,696 เมกะวัตต์ จากเชื้อเพลิงประเภทต่างๆ ดังนี้
ตารางที่ 5.2 เป้าหมายก าลังการผลิตใหม่ของโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกที่จะรับซื้อไฟฟ้า ตาม PDP2018 ระหว่างปี พ.ศ. 2561 – 2580
พลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก | ก าลังผลิตตามสัญญา (เมกะวัตต์) |
พลังงานแสงอาทิตย์ | 9,290 |
พลังงานแสงอาทิตย์ทุ่นลอยน้ าร่วมกับโรงไฟฟ้าพลังน้ า | 2,725 |
ชีวมวล | 3,380 |
โรงไฟฟ้าชีวมวลประชารัฐในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ | 120 |
พลังงานลม | 1,485 |
ก๊าซชีวภาพ (น้ าเสีย/ของเสีย/พืชพลังงาน) | 1,183 |
ขยะชุมชน | 400 |
ขยะอุตสาหกรรม | 44 |
พลังน้ าขนาดเล็ก | 69 |
รวม | 18,696 |
ค่าเป้าหมายการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนในแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและ พลังงานทางเลือก พ.ศ. 2561 – 2580 (AEDP2018) ก าหนดเป็นก าลังการผลิตตามสัญญาของโรงไฟฟ้า (Contract capacity) ที่จะเกิดขึ้นใหม่ตาม PDP2018 Rev.1 รวมกับก าลังการการผลิตตามสัญญาของ โรงไฟฟ้าที่มีพันธะผูกพันกับภาครัฐแล้วในปัจจุบัน ได้แก่ โครงการที่จ่ายไฟฟ้าเข้าระบบไฟฟ้าแล้ว โครงการที่มี สัญญาซื้อขายไฟฟ้า และโครงการที่มีการตอบรับซื้อไฟฟ้าแล้ว ซึ่งจะท าให้สัดส่วนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน ทดแทนต่อความต้องการใช้ไฟฟ้าทั้งประเทศ ณ ปี พ.ศ. 2580 เป็นร้อยละ 34.23 ซึ่งมากกว่าแผน AEDP2015 ที่ก าหนดค่าเป้าหมายการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนเป็นก าลังการผลิตติดตั้ง (Installed capacity) ของ โรงไฟฟ้า โดยมีสัดส่วนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนต่อความต้องการใช้ไฟฟ้าทั้งประเทศ ปี พ.ศ. 2579 เป็นร้อยละ 20.11
ตารางที่ 5.3 เปรียบเทียบเป้าหมายก าลังผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกแต่ละประเภท เชื้อเพลิงของแผน AEDP2015 และ AEDP2018
ประเภทเชื อเพลิง | ก าลังการผลิตติดตั ง (เมกะวัตต์) |
AEDP2015 | AEDP2018 |
เป้า[7] | ผูกพันแล้ว[8] | PDP2018[9] | รวม (สะสม) [10] |
1. พลังงานแสงอาทิตย์ | 6,000 | 2,849 | 9,290 | 12,139 |
2. พลังงานแสงอาทิตย์ลอยน้ า | - | - | 2,725 | 2,725 |
3. ชีวมวล | 5,570 | 2,290 | 3,500 | 5,790 |
4. พลังงานลม | 3,002 | 1,504 | 1,485 | 2,989 |
5. ก๊าซชีวภาพ (น้ าเสีย/ของเสีย/พืชพลังงาน) | 1,280 | 382 | 1,183 | 1,565 |
6. ขยะชุมชน | 500 | 500 | 400 | 900 |
7. ขยะอุตสาหกรรม | 50 | 31 | 44 | 75 |
8. พลังน้ าขนาดเล็ก | 376 | 239 | 69 | 308 |
9. พลังน้ าขนาดใหญ่ | 2,906 | 2,920 | - | 2,920 |
รวมก าลังผลิตติดตั ง (เมกะวัตต์) | 19,684 | 10,715 | 18,696 | 29,411 |
ผลิตไฟฟ้าได้ (ล้านหน่วย) | 65,582 | 32,757 | 52,894 | 85,652 |
ความต้องการไฟฟ้า (ล้านหน่วย) | 326,119 | 326,119 | 250,204 | 250,204 |
ไฟฟ้าพลังงานทดแทนต่อความต้องการไฟฟ้า (%) | 20.11 | 10.04 | 21.14 | 34.23 |
ไฟฟ้าพลังงานทดแทนต่อพลังงานขั นสุดท้าย (%) | 4.27 | 2.13 | 3.55 | 5.75 |
5.1.2 การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกที่ไม่เชื่อมต่อระบบสายส่ง กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าเพื่อสร้างคุณภาพ
ชีวิตที่ดีให้กับประชาชนในพื้นที่ที่ห่างไกลระบบสายส่ง (Off grid) ตามศักยภาพของพื้นที่ ดังนี้
- ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์เพื่อจัดท าระบบประจุแบตเตอร์รี่ ระบบสูบน้ า
ระบบมินิกริด (Mini Grid) และระบบผลิตไฟฟ้า ในพื้นที่ที่อยู่ห่างไกลระบบสายส่งไฟฟ้า หรือพื้นที่ที่มีข้อจ ากัด ที่ท าให้ไม่สามารถด าเนินการจ่ายไฟฟ้าได้ เช่น โรงเรียนในชนบท สถานีอนามัย ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน ฐาน ปฏิบัติการทางทหารและต ารวจตระเวนชายแดน พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ และพื้นที่ในโครงการพระราชด าริ เป็นต้น ในปี พ.ศ. 2560 มีระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ติดตั้งแล้วเสร็จรวม 2,155 ระบบ ก าลังการ ผลิตรวม 4,984 กิโลวัตต์ แนวทางการด าเนินงานในอนาคตจะเป็นการบ ารุงรักษาระบบผลิตพลังงานเดิมด้วย เทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการท างานของระบบ
- การพัฒนาไฟฟ้าพลังน้ าขนาดเล็กมาก ที่มีก าลังการผลิตต่ ากว่า 200 กิโลวัตต์ มีแผน
ด าเนินโครงการในลักษณะต่างๆ ดังต่อไปนี้
(1) โครงการไฟฟ้าพลังน้ าระดับหมู่บ้าน เป็นการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าพลังน้ าแบบ
อิสระ (Off-Grid) ในพื้นที่ที่ไม่มีไฟฟ้าใช้ เพื่อให้ประชาชนสามารถพึ่งพาตนเองได้และเกิดการมีส่วนร่วมของ ประชาชนในการสมทบแรงงานและวัสดุท้องถิ่น โดยให้การสนับสนุนด้านเทคนิค หลังจากก่อสร้างแล้วเสร็จ จะบริหารจัดการโดยประชาชนในพื้นที่ในรูปแบบสหกรณ์ ในปี พ.ศ. 2562 มีโครงการที่ด าเนินการแล้วเสร็จ รวม 64 แห่ง ก าลังการผลิตรวม 2,415 กิโลวัตต์
(2) โครงการไฟฟ้าพลังน้ าระดับหมู่บ้านอย่างยั่งยืน เป็นการปรับปรุงระบบไฟฟ้า
พลังงานแบบอิสระ (Off-Grid) ให้สามารถจ่ายไฟฟ้าเชื่อมโยงกับระบบจ าหน่ายไฟฟ้าได้ (On-Grid) โดยให้ องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นร่วมกับชุมชนในพื้นที่เป็นผู้บริหารจัดการโดยขายไฟฟ้าให้กับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ตามระเบียบการรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กมากต่อไป ในปี พ.ศ. 2562 มีโครงการที่ด าเนินการ แล้วเสร็จรวม 17 โครงการ ก าลังการผลิตรวม 1,942 กิโลวัตต์
(3) โครงการไฟฟ้าพลังงานน้ าชุมชน เป็นการด าเนินการโดยชุมชนที่จะต้องประสานงาน
กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและจัดหาพื้นที่ก่อสร้าง โดยให้การสนับสนุนทางเทคนิค และให้องค์การบริหารส่วน ท้องถิ่นร่วมกับชุมชนในพื้นที่เป็นผู้บริหารจัดการในการผลิตไฟฟ้าใช้เองหรือขายไฟฟ้าให้กับการไฟฟ้าส่วน ภูมิภาค ในปี พ.ศ. 2562 มีโครงการที่ด าเนินการแล้วเสร็จรวม 15 โครงการ ก าลังการผลิตรวม 1,170 กิโลวัตต์ และจะมีแผนเริ่มด าเนินการในปี พ.ศ. 2565 อีก 10 โครงการ ก าลังการผลิตรวม 419 กิโลวัตต์
5.2 การผลิตความร้อน
อุตสาหกรรมเกษตรมีการใช้พลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกในรูปของพลังงาน
ความร้อนอย่างแพร่หลาย ซึ่งช่วยลดต้นทุนค่าเชื้อเพลิงและเป็นการน าของเสียกลับมาใช้ประโยชน์ได้อีกด้วย ที่ผ่านมาในปี พ.ศ. 2561 ชีวมวลถูกน ามาใช้ผลิตความร้อนมากที่สุดถึงร้อยละ 90 ของการผลิตพลังงาน ความร้อนจากพลังงานทดแทนทั้งหมด ร้อยละ 50 ของชีวมวลมาจากชานอ้อยในอุตสาหกรรมน้ าตาล
ส่วนที่เหลือเป็นพลังงานความร้อนจากก๊าซชีวภาพ ขยะ และพลังงานแสงอาทิตย์
ตารางที่ 5.4 การใช้พลังงานความร้อนจากพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก ปี พ.ศ. 2559 – 2561
ประเภทเชื อเพลิง | ความร้อน (พันตันเทียบเท่าน ามันดิบ) |
พ.ศ. 2559 | พ.ศ. 2560 | พ.ศ. 2561 |
1. แสงอาทิตย์ | 6.7 | 9.3 | 10.1 |
2. ชีวมวล | 6,507 | 6,616 | 7,152 |
- ฟืน | 162 | 229 | 272 |
- แกลบ | 193 | 366 | 429 |
- ชานอ้อย | 3,248 | 3,824 | 4,270 |
- วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร* | 2,904 | 2,197 | 2,181 |
3. ก๊าซชีวภาพ | 593 | 634 | 634 |
4. ขยะ | 75 | 63 | 123 |
รวม | 7,182 | 7,322 | 7,919 |
* วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร ได้แก่ ชานอ้อย แกลบ เศษไม้ ใบปาล์ม กะลาปาล์ม และขี้เลื่อย เป็นต้น
การปรับปรุงเป้าหมายการส่งเสริมการผลิตการใช้พลังงานความร้อนจากพลังงานทดแทนและ
พลังงานทางเลือกใน AEDP2018 เมื่อเทียบกับ AEDP2015 มีดังนี้
- ปรับเพิ่มเป้าหมายการผลิตความร้อนจากเชื้อเพลิงชีวมวลที่เพิ่มขึ้นจากการขยายโรงงาน
น้ าตาลตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 ท าให้คาดการณ์ว่าจะมีความต้องการใช้ชีวมวลเพื่อผลิตความร้อนเพิ่มสูงขึ้น
- ปรับลดเป้าหมายการผลิตความร้อนจากพลังงานแสงอาทิตย์ลงจาก AEDP2015
ที่ประเมินศักยภาพการติดตั้งระบบน้ าร้อนแสงอาทิตย์ (Solar collector) จากพื้นที่หลังคาอาคาร ซึ่งใน ปัจจุบันพื้นที่หลังคาอาคารส่วนใหญ่นิยมติดตั้งโซล่าร์เซลล์ส าหรับผลิตพลังงานไฟฟ้าเพราะมีต้นทุนการติดตั้ง และการบ ารุงรักษาต่ ากว่าระบบน้ าร้อนแสงอาทิตย์
- ปรับเพิ่มเป้าหมายการผลิตความร้อนจากไบโอมีเทน (Bio-methane Gas) ซึ่งหมายถึง
ก๊าชชีวภาพที่น ามาปรับปรุงคุณภาพให้มีคุณสมบัติเทียบเท่าก๊าซธรรมชาติส าหรับยานยนต์ (Natural Gas Vehicles) หรือเอ็นจีวี (NGV) ในแผน AEDP2015 ได้ตั้งเป้าหมายพัฒนาเป็นเชื้อเพลิงทางเลือกในพื้นที่ ห่างไกลแนวท่อก๊าซธรรมชาติ แต่จากการพยากรณ์ความต้องการใช้ก๊าซธรรมชาติภาคขนส่งในอนาคตมี แนวโน้มลดลงจากการพัฒนายานยนต์ไฟฟ้าและระบบขนส่งสาธารณะ ใน AEDP2018 จึงเปลี่ยน
กลุ่มเป้าหมายผู้ใช้มาเป็นภาคอุตสาหกรรมเพื่อทดแทนการใช้ก๊าซธรรมชาติเหลว (Liquefied Natural Gas) หรือแอลเอ็นจี (LNG) เป็นเชื้อเพลิงในกระบวนการผลิต
ตารางที่ 5.5 เปรียบเทียบเป้าหมายการผลิตพลังงานความร้อนจากพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก
แต่ละประเภทเชื้อเพลิงของแผน AEDP2015 และ AEDP2018
ประเภทเชื อเพลิง | ความร้อน (พันตันเทียบเท่าน ามันดิบ) |
แผน AEDP2015 | แผน AEDP2018 |
1. ชีวมวล | 22,100 | 23,000 |
2. ก๊าซชีวภาพ | 1,283 | 1,283 |
3. ขยะ | 495 | 495 |
4. พลังงานแสงอาทิตย์และพลังงานหมุนเวียนอื่นๆ | 1,210 | 100 |
5. ไบโอมีเทน | - | 2,023* |
รวม | 25,088 | 26,901 |
พลังงานความร้อนที่ต้องการ | 68,414 | 64,657 |
ความร้อนจากพลังงานทดแทนต่อพลังงานความร้อนที่ต้องการ (%) | 36.67 | 41.61 |
ความร้อนจากพลังงานทดแทนต่อพลังงานขั นสุดท้าย (%) | 19.15 | 21.20 |
* เทียบเท่าไบโอมีเทน 4,800 ตันต่อวัน
จากการปรับปรุงเป้าหมายการส่งเสริมการผลิตการใช้พลังงานความร้อนจากพลังงานทดแทน
และพลังงานทางเลือกใน AEDP2018 ท าให้สัดส่วนการผลิตความร้อนจากพลังงานทดแทนต่อความต้องการใช้ พลังงานความร้อนทั้งประเทศ ณ ปี พ.ศ. 2580 เป็นร้อยละ 41.61 ซึ่งมากกว่าแผน AEDP2015 ที่มีสัดส่วน การผลิตความร้อนจากพลังงานทดแทนต่อความต้องการใช้พลังงานความร้อนทั้งประเทศ ณ ปี พ.ศ. 2579 เป็นร้อยละ 36.67 โดยการส่งเสริมการผลิตการใช้พลังงานความร้อนจากพลังงานทดแทนและพลังงาน ทางเลือกมีแนวทางดงัต่อไปนี้
5.2.1 ส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีระบบอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบเรือนกระจก
ให้กับผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์อบแห้งทั้งในระดับอุตสาหกรรมขนาดกลาง ขนาดเล็ก และครัวเรือน เพื่อยกระดับมาตรฐานด้านสุขอนามัยในผลิตภัณฑ์อบแห้ง การพัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพระบบอบแห้งพลังงาน แสงอาทิตย์ร่วมกับเชื้อเพลิงชีวมวล การส่งเสริมระบบบ่อเลี้ยงปลาพลังงานแสงอาทิตย์และพัฒนาให้มี มาตรฐานด้านสุขอนามัยส าหรับกลุ่มเกษตรกรและกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
5.2.2 ส่งเสริมการผลิตชีวมวลจากไม้โตเร็วเพื่อเพิ่มความมั่นคงด้านพลังงานให้กับ
อุตสาหกรรมที่มีการใช้เชื้อเพลิงชีวมวล เนื่องจากเชื้อเพลิงชีวมวลจากเศษวัสดุทางการเกษตรอาจไม่เพียงพอ ต่อความต้องการใช้พลังงานที่จะเพิ่มสูงขึ้นในอนาคต รวมถึงการเพิ่มคุณภาพของเชื้อเพลิงชีวมวล เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเป็นพลังงานและการขนส่งในรูปของเชื้อเพลิงอัดเม็ด
5.2.3 ส่งเสริมการผลิตการใช้ก๊าซชีวภาพจากน้ าเสียและของเสียในโรงงานอุตสาหกรรม
และฟาร์มปศุสัตว์ขนาดกลางและขนาดเล็ก ด้วยการสนับสนุนการลงทุนก่อสร้างระบบผลิตก๊าซชีวภาพให้แก่ ผู้ประกอบการ รวมถึงการน าพืชพลังงานมาเป็นวัตถุดิบในการผลิตก๊าซชีวภาพ เพื่อรองรับการใช้ประโยชน์จาก พลังงานก๊าซชีวภาพในรูปแบบต่างๆ เช่น ไฟฟ้า ความร้อน และไบโอมีเทน ในอนาคตต่อไป
5.3 การผลิตเชื อเพลิงชีวภาพ การก าหนดค่าเป้าหมายการส่งเสริมเชื้อเพลิงชีวภาพนั้นจะพิจารณาจากปัจจัยต่างๆ ได้แก่
แผนพัฒนาระบบขนส่งตามแผนยุทธศาสตร์ของกระทรวงคมนาคม แผนอนุรักษ์พลังงานในภาคขนส่ง การพัฒนาเทคโนโลยียานยนต์ไฟฟ้า ข้อจ ากัดของเทคโนโลยียานยนต์ในการรองรับการใช้เชื้อเพลิงชีวภาพใน สัดส่วนที่สูงขึ้น และพระราชบัญญัติกองทุนน้ ามันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2562 ที่มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 24 กันยายน
พ.ศ. 2562 ก าหนดไม่ให้ใช้เงินกองทุนน้ ามันเชื้อเพลิงอุดหนุนราคาน้ ามันที่มีเชื้อเพลิงชีวภาพเป็นส่วนผสม จากปัจจัยดังกล่าวจะส่งผลให้ความต้องการใช้น้ ามันเชื้อเพลิงในภาคขนส่งลดลง จึงท าให้การก าหนดเป้าหมาย การใช้เชื้อเพลิงชีวภาพในแผน AEDP2018 ลดลงเมื่อเทียบกับเป้าหมายตามแผน AEDP2015 ดังนี้
- ปรับลดเป้าหมายการใช้เอทานอลลงเป็น 7.50 ล้านลิตรต่อวัน ในปี พ.ศ. 2580
- ปรับลดเป้าหมายการใช้ไบโอดีเซลลงเป็น 8.00 ล้านลิตรต่อวัน ในปี พ.ศ. 2580
- ยกเลิกเป้าหมายการผลิตไบโอมีเทนอัดในภาคขนส่ง
ตารางที่ 5.6 เปรียบเทียบเป้าหมายการผลิตเชื้อเพลิงในภาคขนส่งจากพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก
ประเภทเชื อเพลิง | แผน AEDP2015 | แผน AEDP2018 |
ล้านลิตร/วัน | ktoe | ล้านลิตร/วัน | ktoe |
1. เอทานอล | 11.30 | 2,104 | 7.50 | 1,396 |
2. ไบโอดีเซล | 14.00 | 4,405 | 8.00 | 2,517 |
3. น้ ามันไพโรไลซิส | 0.53 | 171 | 0.53 | 171 |
4. ไบโอมีเทน | 4,800 ตันต่อวัน | 2,023 | - | - |
5. เชื้อเพลิงทางเลือกอื่นๆ | | 10 | - | - |
รวม | | 8,713 | | 4,085 |
ความต้องการเชื้อเพลิงในภาคขนส่ง | | 34,798 | | 40,890 |
เชื อเพลิงชีวภาพตอ่เชื อเพลิงในภาคขนส่งทั งประเทศ (%) | | 25.04 | | 9.99 |
เชื อเพลิงชีวภาพต่อความต้องการพลังงานขั นสุดท้าย (%) | | 6.65 | | 3.22 |
จากการปรับปรุงเป้าหมายการส่งเสริมการผลิตการใช้เชื้อเพลิงชีวภาพใน AEDP2018 ท าให้
สัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงชีวภาพต่อความต้องการใช้เชื้อเพลิงในภาคขนส่ง ณ ปี พ.ศ. 2580 เป็นร้อยละ 9.99 ซึ่งน้อยกว่าแผน AEDP2015 ที่มีสัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงชีวภาพต่อความต้องการใช้เชื้อเพลิงในภาคขนส่ง ณ ปี พ.ศ. 2579 เป็นร้อยละ 25.04 โดยมีแนวทางการด าเนินงาน ดังนี้
5.3.1 การส่งเสริมให้น้ ามันแก๊สโซฮอล์ อี 20 เป็นน้ ามันเชื้อเพลิงหลักในกลุ่มผู้ใช้
เครื่องยนต์เบนซิน โดยปรับลดชนิดน้ ามันเชื้อเพลิงในกลุ่มเบนซินยกเลิกน้ ามันแก๊สโซออล์อี 10 ออกเทน 91 ภายในปี พ.ศ. 2563 และลดการชดเชยเชื้อเพลิงชีวภาพซึ่งจะท าให้ปริมาณการใช้แก๊สโซฮอล์ อี 85 ลดลง
5.3.2 การส่งเสริมให้น้ ามันดีเซลหมุนเร็วบี 10 เป็นน้ ามันดีเซลมาตรฐานของประเทศ
เพื่อให้สมดุลกับปริมาณผลผลิตปาล์มน้ ามันและน้ ามันปาล์ม และลดการชดเชยเชื้อเพลิงชีวภาพซึ่งจะท าให้ ปริมาณการใช้น้ ามันดีเซลหมุนเร็ว บี 7 และ บี 20 ลดลง
แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ. 2561 – 2580 ยังคงรักษาเป้าหมายรวม
ในการเพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกในรูปของพลังงานไฟฟ้า ความร้อน และ เชื้อเพลิงชีวภาพ ต่อการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายที่ร้อยละ 30 โดยปรับปรุงเป้าหมายบางประเภทเชื้อเพลิงให้มี ความเหมาะสมกับสถานการณ์ในปัจจุบันและทิศทางการใช้พลังงานในอนาคต ตารางที่ 5.7 ค่าเป้าหมายตามแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ. 2561 – 2580
ประเภทพลังงาน | เป้าหมาย ปี 2580 |
ไฟฟ้า | พันตันเทียบเท่าน ามันดิบ | 7,298 |
เมกะวัตต์ | 29,411 |
1. พลังงานแสงอาทิตย์ | เมกะวัตต์ | 12,139 |
2. พลังงานแสงอาทิตย์ทุ่นลอยน้ า | เมกะวัตต์ | 2,725 |
3. ชีวมวล | เมกะวัตต์ | 5,790 |
4. พลังงานลม | เมกะวัตต์ | 2,989 |
5. ก๊าซชีวภาพ (น้ าเสีย/ของเสีย/พืชพลังงาน) | เมกะวัตต์ | 1,565 |
6. ขยะชุมชน | เมกะวัตต์ | 900 |
7. ขยะอุตสาหกรรม | เมกะวัตต์ | 75 |
8. พลังน้ าขนาดเล็ก | เมกะวัตต์ | 308 |
9. พลังน้ าขนาดใหญ่ | เมกะวัตต์ | 2,920 |
ความร้อน | พันตันเทียบเท่าน ามันดิบ | 26,901 |
1. ชีวมวล | พันตันเทียบเท่าน้ ามันดิบ | 23,000 |
2. ก๊าซชีวภาพ | พันตันเทียบเท่าน้ ามันดิบ | 1,283 |
3. พลังงานขยะ | พันตันเทียบเท่าน้ ามันดิบ | 495 |
4. พลังงานแสงอาทิตย์ | พันตันเทียบเท่าน้ ามันดิบ | 100 |
5. ไบโอมีเทน | พันตันเทียบเท่าน้ ามันดิบ | 2,023 |
เชื อเพลิงชีวภาพ | พันตันเทียบเท่าน ามันดิบ | 4,085 |
1. เอทานอล | ล้านลิตร/วัน | 7.50 |
2. ไบโอดีเซล | ล้านลิตร/วัน | 8.00 |
3. น้ ามันไพโรไลซิส | ล้านลิตร/วัน | 0.53 |
การใช้พลังงานทดแทน (พันตันเทียบเท่าน ามันดิบ) | 38,284 |
การใช้พลังงานขั นสุดท้าย (พันตันเทียบเท่าน ามันดิบ) | 126,867 |
สัดส่วนพลังงานทดแทนต่อการใช้พลังงานขั นสุดท้าย (%) | 30 |
ปัจจัยสู่ความส าเร็จ
1. ประเด็นที่ตอ้ งเร่งขับเคลื่อน
1.1 ด้านนโยบาย กฎหมาย และกฎระเบียบ
หัวข้อในการพิจารณา | ระยะสั น (1-2 ปี) | ระยะกลาง (3-10 ปี) |
การผลิตไฟฟ้าเข้าสู่ ระบบสายส่ง | - ก าหนดนโยบายรับซื้อไฟฟ้า จากพลังงานทดแทนและ พลังงานทางเลือก ที่ เหมาะสมในราคาที่เป็นธรรม แก่ทุกภาคส่วน (ผู้ผลิต ผู้รับ ซื้อ และผู้บริโภค) - พัฒนาศูนย์บริการจุดเดียว เบ็ดเสร็จ (one stop service) ในการยื่นขอ อนุญาตผลิตไฟฟ้าเพื่อ อ านวยความสะดวกให้แก่ ผู้ประกอบการที่สนใจ | - ปรับปรุงกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ สามารถบริหารจัดการโรงไฟฟ้าพลังงาน ทดแทนกับโรงไฟฟ้าประเภทอื่นๆ ผลิต ไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ - พิจารณาใช้ประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ส าหรับการผลิตพลังงานทดแทน เช่น การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลม เป็นต้น - บูรณาการร่วมกับกระทรวงมหาดไทย สนับสนุนการจัดการขยะมูลฝอยของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วประเทศ - บูรณาการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการจัดการอุปกรณ์ผลิตพลังงานที่ หมดอายุลงอย่างถูกต้องเพื่อไม่ให้ส่งผล กระทบต่อสิ่งแวดล้อม เช่น แผงโซลาร์ เซลล์ แบตเตอร์รี่ เป็นต้น |
การส่งเสริมการผลิต การใช้พลังงานทดแทน เพื่อผลิตไฟฟ้าและ ความร้อน | - ก าหนดมาตรฐาน ราคากลาง เชื้อเพลิงพลังงานทดแทน ได้แก่ ชีวมวลอัดแท่ง เป็นต้น - พัฒนาศูนย์บริการจุดเดียว เบ็ดเสร็จ (one stop service) ในการยื่นขอ อนุญาตผลิตไฟฟ้าใช้เองเพื่อ อ านวยความสะดวกให้แก่ ผู้ประกอบการและประชาชน | - ส่งเสริมการผลิตการใช้ก๊าซชีวภาพใน รูปแบบต่างๆ แทนการเผาทิ้ง เช่น การ ส่งเสริมการพัฒนาโครงข่ายก๊าซชีวภาพ ในชุมชนให้แพร่หลาย การผลิตก๊าซไบโอ มีเทนอัด หรือไบโอมีเทนเหลว เป็นต้น - ปรับปรุงกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องให้มี ความเหมาะสม เช่น การขออนุญาต ก่อสร้างโรงงานผลิตก๊าซไบโอมีเทนอัด เป็นต้น |
การส่งเสริมการผลิต การใช้เชื้อเพลิงชีวภาพ ในภาคขนส่ง | - สิทธิประโยชน์ทางภาษี ส าหรับยานยนต์และ เชื้อเพลิงที่ผสมเชื้อเพลิง | - ศึกษาโครงสร้างราคาน้ ามันเชื้อเพลิงให้มี ความเหมาะสม และบริหารเงินกองทุน น้ ามันฯ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ |
หัวข้อในการพิจารณา | ระยะสั น (1-2 ปี) | ระยะกลาง (3-10 ปี) |
| ชีวภาพทั้งไบโอดีเซลและเอ ทานอลในสัดส่วนที่สูงขึ้น | |
1.2 ด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและองค์ความรู้
หัวข้อในการพิจารณา | ระยะสั น (1-2 ปี) | ระยะกลาง (3-10 ปี) |
การผลิตไฟฟ้าเข้าสู่ ระบบสายส่ง | - พัฒนาความพร้อมทางเทคนิคเพื่อให้สามารถบริหารจัดการให้โรงไฟฟ้า พลังงานทดแทนกับโรงไฟฟ้าประเภทอื่นๆ เกิดการผลิตไฟฟ้าได้อย่างมี ประสิทธิภาพ เช่น เทคโนโลยี Smart grid การพยากรณ์อากาศที่ส่งผลต่อ การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลมและแสงอาทิตย์ เป็นต้น |
| - พัฒนาเทคโนโลยีกังหันลมให้มี ประสิทธิภาพเหมาะสมกับความเร็วลม ในประเทศไทย - ศึกษาเทคโนโลยีกังหันลมนอกชายฝั่ง |
การส่งเสริมการผลิต การใช้พลังงานทดแทน เพื่อผลิตไฟฟ้าและ ความร้อน | - พัฒนา ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดตามประเมินผลการผลิต และใช้วัตถุดิบพลังงานทดแทน เช่น การประเมินศักยภาพชีวมวล พื้นที่การ เพาะปลูกไม้โตเร็ว การติดตามผลการใช้ชีวมวลในโรงไฟฟ้าหรือโรงงาน อุตสาหกรรม เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการจัดท านโยบายที่เหมาะสมต่อไป |
- พัฒนาเทคโนโลยี ตลอดจนอุปกรณ์ประกอบ และเครื่องจักรต่างๆให้ สามารถด าเนินการผลิตได้เองในประเทศ เพื่อทดแทนการน าเข้า เช่น เทคโนโลยีเตาเผาขยะมลพิษต่ า เป็นต้น |
- การวิจัยพัฒนาปรับปรุง คุณภาพเชื้อเพลิงขยะ (Refuse Derived Fuel, RDF) | |
การส่งเสริมการผลิต การใช้เชื้อเพลิงชีวภาพ ในภาคขนส่ง | - เพิ่มผลผลิตต่อไร่ของผลผลิตทางการเกษตรที่น ามาใช้เป็นวัตถุดิบในการ ผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ เพื่อให้มีต้นทุนที่สามารถแข่งขันได้กับเชื้อเพลิง ฟอสซิล โดยบูรณาการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในแนวทางดังต่อไปนี้ การ Zoning พื้นที่ปลูก การวิจัยพัฒนาสายพันธุ์ดีที่ให้ผลผลิตสูง การ ถ่ายทอดเทคโนโลยีที่เหมาะสม เป็นต้น |
หัวข้อในการพิจารณา | ระยะสั น (1-2 ปี) | ระยะกลาง (3-10 ปี) |
| - การวิจัยที่เกี่ยวกับการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพอย่างมีประสิทธภาพ และลด ต้นทุนการผลิต ส่งเสริมการน าผลพลอยได้ ส่วนเหลือ รวมถึงของเสียจาก กระบวนการผลิตมาใช้ประโยชน์ |
- การทดสอบการใช้ H-FAME ในรถยนต์ดีเซลทั่วไป - การศึกษาผลกระทบจากการ ใช้เชื้อเพลิงชีวภาพ ส าหรับ มาตรฐานมลพิษ EURO 5/6 | |
1.3 ด้านการสร้างความเข้าใจ และการตระหนักรู้ในด้านพลังงานทดแทน
หัวข้อในการพิจารณา | ระยะสั น (1-2 ปี) | ระยะกลาง (3-10 ปี) |
การพัฒนาศักยภาพ บุคลากรในด้านการ ผลิตพลังงานทดแทน | - พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ และเชี่ยวชาญด้านพลังงาน ทดแทนในทุกเทคโนโลยี โดยเฉพาะพลังงานแสงอาทิตย์ ตั้งแต่ การออกแบบ การติดตั้ง และการเดินระบบ เพื่อให้ เพียงพอกับความต้องการที่จะ เพิ่มขึ้นในอนาคต | - พัฒนาบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญใน สาขาวิศวกรรมและช่างเทคนิคที่ เกี่ยวข้องกับพลังงานทดแทนในทุก เทคโนโลยี |
การสร้างความเข้าใจ และความร่วมมือใน ระดับชุมชน | - ศึกษาพัฒนากลไกการมีส่วน ร่วมของประชาชนต่อโรงไฟฟ้า หรือโรงงานอุตสาหกรรมใน การพัฒนาพลังงานทดแทน - ส่งเสริมการคัดแยกขยะ การ รณรงค์ให้ความรู้ การปลูก จิตส านึกแก่ประชาชนให้มีการ คัดแยกขยะตั้งแต่ต้นทาง หรือ น ากลับมาใช้ซ้ า | - รณรงค์ให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะ และการผลิตพลังงานจากขยะให้กับ ประชาชนในพื้นที่ด าเนินโครงการ ตลอดจนประชาชนทั่วไปเพื่อสร้างการ ยอมรับและสามารถจัดการขยะได้อย่าง ถูกต้องตามหลักวิชาการ |
2. แนวทางการบริหารความเสี่ยง
2.1 ความเสี่ยงด้านวัตถุดิบ และการบริหารจัดการวัตถุดิบ
ความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ น | แนวทางการบริหารจัดการความเสี่ยง |
การขาดแคลนวัตถุดิบส าหรับน ามาผลิตเป็น พลังงาน ได้แก่ เชื้อเพลิงชีวมวล และ ก๊าซ ชีวภาพ เป็นต้น | - ส่งเสริมการจัดตั้งวิสาหกิจชุมชนผลิตเชื้อเพลิง เช่น ไม้สับ ชีวมวลอัดเม็ด เป็นต้น
- ด าเนินการร่วมกับภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการ ส่งเสริมพืชพลังงาน ส าหรับใช้เป็นเชื้อเพลิงผลิต พลังงานอย่างเหมาะสม
|
นโยบายแทรกแซง/ประกันราคาผลผลิตทาง การเกษตรอาจส่งผลกระทบให้ต้นทุนวัตถุดบิ ส าหรับผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพสูงขึ้น | พัฒนาแนวทางการลดต้นทุนการผลิตด้าน วัตถุดิบโดยการเพิ่มผลผลิตต่อไร่ และเพิ่ม ประสิทธิภาพของเทคโนโลยีการผลิตเชื้อเพลิง ชีวภาพ |
2.2 ความเสี่ยงด้านการผลิตพลังงานทดแทน
ความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ น | แนวทางการบริหารจัดการความเสี่ยง |
การพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานทดแทนอื่นๆ ที่จะ ส่งผลให้ต้นทุนการผลิตพลังงานทดแทนบาง ประเภทถูกลง ในขณะที่พลังงานทดแทนบาง ประเภทไม่สามารถแข่งขันได้ รวมถึงแนวโน้ม รูปแบบการบริโภคพลังงานที่เปลี่ยนไปสู่การใช้ พลังงานไฟฟ้ามากขึ้น | พัฒนาแนวทางการสนับสนุนการผลิตการใช้พลังงาน ทดแทนที่ค านึงถึงผลประโยชน์ร่วม (Co-benefit) ของประเทศอย่างเหมาะสม เช่น การ พัฒนาแนวทางการรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนที่ เน้นประสิทธิภาพในการผลิตพลังงาน การพัฒนาแนว ทางการส่งเสริมการผลิตการใช้เชื้อเพลิงชีวภาพในภาค ขนส่ง เป็นต้น |
พื้นที่ที่มีศักยภาพในการผลิตพลังงานอาจมีความ อ่อนไหว เช่น พลังน้ า พลังงานลม เป็นต้น ท าให้ กระบวนการในการขออนุญาตใช้พื้นที่แต่ละ โครงการใช้เวลานานกว่าที่คาดการณ์ไว้ | บูรณาการร่วมกับหน่วยงานเจ้าของพื้นที่ เพื่อสร้าง ความรู้ความเข้าใจในรูปของคณะท างานบริหารจัดการ และประสานส่วนที่เกี่ยวข้องในการใช้พื้นที่เพื่อผลิต พลังงาน เป็นต้น |
การต่อต้านโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนบางประเภท เช่น โรงไฟฟ้าขยะ โรงไฟฟ้าชีวมวล เป็นต้น | จัดกิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง เกี่ยวกับการผลิตพลังงานจากพลังงานทดแทนให้กับ ประชาชนในพื้นที่ตั้งโครงการ และประชาชนทั่วไป |
ความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ น | แนวทางการบริหารจัดการความเสี่ยง |
การผลิตพลังงานไฟฟ้าใช้เองของผู้บริโภค (Prosumer) ที่อาจส่งผลต่อประสิทธิภาพการ บริหารจัดการผลิตไฟฟ้าจากส่วนกลาง | บูรณาการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการวางแผน และเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับการผลิตไฟฟ้าจาก พลังงานทดแทน และด าเนินการทบทวนและปรับปรุง แผนดังกล่าวให้มีความเหมาะสมทุกระยะ |
2.3 ความเสี่ยงด้านการใช้พลังงานทดแทนอย่างยั่งยืน
ความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ น | แนวทางการบริหารจัดการความเสี่ยง |
เทคโนโลยีการผลิตส่วน ใหญ่จะเป็นของ ต่างประเทศ | สร้างองค์ความรู้และบุคลากรด้านเทคโนโลยีภายในประเทศ การ ส่งเสริมการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตและเทคโนโลยีอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ภายในประเทศ |
การน าเข้าวัตถุดิบ พลังงานทดแทนจาก ต่างประเทศ เช่น การ น าเข้ากากน้ าตาลและ มันส าปะหลังเป็นต้น | มีมาตรการควบคุมการน าเข้าวัตถุดิบพลังงานทดแทน โดยส่งเสริมให้ มีการผลิตการใช้วัตถุดิบพลังงานทดแทนภายในประเทศก่อน |
ความสามารถของ ประเทศในการจัดการ ซากอุปกรณ์ผลิต พลังงานที่หมดอายุ ปริมาณมาก เช่น แผงโซลาร์เซลล์ แบตเตอร์รี่ เป็นต้น | บูรณาการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในรูปของคณะท างานเพื่อ พิจารณาแนวทางการจัดการซากอุปกรณ์ผลิตพลังงานที่หมดอายุลง อย่างเป็นระบบ เพื่อป้องกันผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในระยะยาว |
การใช้ปุ๋ยและสารเคมีในการ ท าการเกษตรเพื่อผลิต เชื้อเพลิงชีวภาพ | บูรณาการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในรูปของคณะท างานเพื่อพิจารณา แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่ใช้ปุ๋ยอินทรีย์และลดการใช้สารเคมีในการ ท าการเกษตรเพื่อป้องกันผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม |
ประโยชน์ต่อประเทศชาติและประชาชน
- ผลประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจและลดการพึ่งพาพลังงานจากต่างประเทศ ปัจจุบันประเทศไทยต้องน าเข้าพลังงานจากต่างประเทศเพื่อให้เพียงพอกับความต้องการ
ภายในประเทศในการขับเคลื่อนกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เช่น การน าเข้าก๊าซธรรมชาติเพื่อน ามาผลิตเป็น พลังงานไฟฟ้าและความร้อนในภาคอุตสาหกรรม การน าเข้าน้ ามันดิบเพื่อน ามาผลิตเป็นน้ ามันส าเร็จรูป ในภาคขนส่ง การผลิตการใช้พลังงานทดแทนเป็นการน าศักยภาพพลังงานธรรมชาติในประเทศมาเปลี่ยนเป็น พลังงาน ได้แก่ พลังงานงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม รวมไปถึงการน าของเสียและวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร มาใช้ประโยชน์เพื่อผลิตเป็นพลังงาน ซึ่งจะช่วยลดการพึ่งพาพลังงานจากภายนอกประเทศได้ส่วนหนึ่ง สามารถกระตุ้นให้เกิดการลงทุนด้านพลังงานทดแทนที่จะสร้างงาน สร้างรายได้ ลดรายจ่าย ให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง ตั้งแต่ผู้ผลิตจนถึงผู้ใช้พลังงานทดแทนอย่างทั่วถึง
- ผลประโยชน์ทางด้านสังคม การพัฒนาพลังงานในพื้นที่ช่วยสร้างความมั่นคงด้านพลังงานให้กับชุมชน ลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน ที่ต้องพึ่งพาพลังงานจากภายนอก สร้างคุณภาพชีวิตที่ดีจากการมีพลังงานใช้เพื่อพัฒนาระบบสาธารณูปโภค ขั้นพื้นฐาน ได้แก่ ไฟฟ้าพลังน้ า ไฟส่องสว่างและการสูบน้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ ก๊าซชีวภาพเพื่อการหุงต้ม ในครัวเรือนจากน้ าเสียและมูลสัตว์จากฟาร์มปศุสัตว์ เป็นต้น
- ผลประโยชน์ทางด้านการพัฒนาทางเทคโนโลยี การผลิตและการใช้พลังงานทดแทนจะสนับสนุนให้อุตสาหกรรมในประเทศเกิดองค์ความรู้
และน าไปสู่การวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีด้านพลังงานต่อไป
- ผลประโยชน์ต่อสิ่งแวดล้อม การใช้พลังงานทดแทนและพลังงานหมุนเวียนจะเป็นการลดการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลที่เป็นสาเหตุ
ส าคัญของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในปัจจุบันจากภาวะโลกร้อน แนวทางการน าของเสียกลับมาสร้าง ประโยชน์ใหม่ เช่น การน าขยะ ของเสีย น้ าเสีย วัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร มาผลิตเป็นพลังงานหมุนเวียน ต่อเนื่องโดยไม่เกิดของเสีย ถือเป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ที่จะ ช่วยให้เกิดการพัฒนาไปพร้อมกับการรักษาสิ่งแวดล้อมได้อย่างยั่งยืน
บรรณานุกรม
ส านักนายกรัฐมนตรี. ประกาศ เรื่อง ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 135 ตอนที่
82 ก, 13 ตุลาคม 2561 ส านักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติ, คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ. 2561. ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580. กรุงเทพฯ
ส านักนายกรัฐมนตรี. การประกาศแผนการปฏิรูปประเทศ. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 135 ตอนที่ 24 ก,
6 เมษายน 2561 กระทรวงพลังงาน, คณะกรรมการปฏิรูประเทศด้านพลังงาน. 2561. แผนปฏิรูปประเทศด้านพลังงาน. กรุงเทพฯ
กระทรวงพลังงาน, กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน. 2560. รายงานพลังงานทดแทนของ ประเทศไทย. กรุงเทพฯ กระทรวงพลังงาน, กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน. 2560. โครงการศึกษาศักยภาพพื้นที่ที่ เหมาะสมในการพัฒนาระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ของประเทศไทย. กรุงเทพฯ
กระทรวงพลังงาน, กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน. 2560. โครงการศึกษาศักยภาพการใช้ และประยุกต์ใช้น้ าร้อนพลังงานแสงอาทิตย์ในภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการของประเทศไทย. กรุงเทพฯ
กระทรวงพลังงาน, กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน. 2559. โครงการศึกษาศักยภาพและความ เหมาะสมการส่งเสริมการใช้น้ าร้อนแสงอาทิตย์ส าหรับภาคครัวเรือน. กรุงเทพฯ
กระทรวงพลังงาน, กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน. 2553. โครงการพัฒนาปรับปรุงแผนที่ ศักยภาพพลังงานลมส าหรับประเทศไทย. กรุงเทพฯ
กระทรวงพลังงาน, กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน. 2560. โครงการพัฒนาแผนที่ศักยภาพ และปรับปรุงฐานข้อมูลพลังงานความร้อนใต้พิภพในประเทศไทย. กรุงเทพฯ
กระทรวงพลังงาน, กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน. 2561. โครงการศึกษา ส ารวจ ทบทวน
พฤติกรรมการเก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตรเพื่อใช้ในการวิเคราะห์และปรับปรุงค่าคงที่ของ อัตราส่วนชีวมวลและค่าสัมประสิทธิ์ชีวมวลเหลือใช้. กรุงเทพฯ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, กรมควบคุมมลพิษ. 2561. รายงานสถานการณ์สถานที่ก าจัด
ขยะมูลฝอยชุมชนของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2561. กรุงเทพฯ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, คณะกรรมการนโยบายปาล์มน้ ามันแห่งชาติ. 2561. ยุทธศาสตร์การปฏิรูปปาล์ม น้ ามันและน้ ามันปาล์มทั้งระบบ ปี 2560 – 2579. กรุงเทพฯ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, คณะอนุกรรมการร่วมจัดท ายุทธศาสตร์สินค้าเกษตรเป็นรายพืชเศรษฐกิจ 4 สินค้า (Roadmap) คือ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มันส าปะหลัง ปาล์มน้ ามัน และอ้อย. 2557. (ร่าง) ยุทธศาสตร์มัน ส าปะหลังและผลิตภัณฑ์ (Roadmap) และ (ร่าง) ยุทธศาสตร์อ้อยโรงงานและน้ าตาลทราย
(Roadmap). กรุงเทพฯ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมปศุสัตว์. 2560. ข้อมูลจ านวน ปศุสัตว์ในประเทศไทย ปี 2560. กรุงเทพฯ ส านักงานเลขาธิการสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ, คณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้าน
พลังงาน. 2560. การส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากชีวมวลไม้โตเร็วเพื่อสร้างเศรษฐกิจฐานรากให้กับ เกษตรกร สร้างป่า และเสริมความมั่นคงด้านพลังงาน. กรุงเทพฯ
ภาคผนวก
ภาคผนวก 1
แผนพัฒนาไฟฟ้าพลังน า
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
แผนการปรับปรุงประสิทธิภาพ/เพิ่มก าลังผลิตด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ทุ่นลอยน า
ล าดับ | ชื่อโครงการอ่างเก็บน า | จังหวัด | อ าเภอ | ต าบล | ศักยภาพ Solar Floating จาก ระดับน าต่ าสุด (เมกะวัตต์) |
1. | เขื่อนบ้านพลวง | จันทบุรี | คิชณกูฎ | พลวง | 44 |
2. | เขื่อนคิรีธาร | จันทบุรี | มะขาม | ปัถวี | 218 |
3. | เขื่อนห้วยประทาว-เขื่อนล่าง | ชัยภูมิ | แก้งคร้อ | ท่าหินโงม | 5.35 |
4. | เขื่อนห้วยประทาว-เขื่อนบน | ชัยภูมิ | แก้งคร้อ | นาหนองทุ่ม | 61 |
5. | เขื่อนแม่มาว | เชียงใหม่ | ฝาง | ม่อนปิ่น | 3 |
6. | เขื่อนแม่สาบ | เชียงใหม่ | สะเมิง | สะเมิงใต้ | 2.1 |
7. | เขื่อนแม่สะงา | แม่ฮ่องสอน | เมือง | หมอกจ าแป่ | 1 |
8. | เขื่อนน้ าว้า | น่าน | เวียงสา | ล้านนาหนองใหม่ | 1.8 |
9. | เขื่อนแม่ผง | พะเยา | ดอกค าใต้ | บ้านถ้ า | 0.18 |
| | รวม | | | 336.43 |
แผนพัฒนาโครงการไฟฟ้าพลังน าขนาดเล็กมาก (ก าลังการผลิตต่ ากว่า 200 กิโลวัตต์)
ล าดับ | โครงการ | ที่ตั ง | | ก าลังผลิต (กิโลวัตต์) | ปี ด าเนินการ |
ต าบล | อ าเภอ | จังหวัด |
1 | น้ าแม่นาวาง | บ้านหลวง | แม่อาย | เชียงใหม่ | 52 | 2565 |
2 | น้ าแม่คงคา | กองแขก | แม่แจ่ม | เชียงใหม่ | 35 | 2565 |
3 | น้ าโประโกร | แม่สอง | ท่าสองยาง | ตาก | 52 | 2566 |
4 | น้ าแม่ระเมิง | แม่สอง | ท่าสองยาง | ตาก | 47 | 2566 |
5 | น้ าแม่อมลอง | บ้านกาศ | แม่สะเรียง | แม่ฮ่องสอน | 65 | 2567 |
6 | ห้วยระพริ้ง | พะวอ | แม่สอด | ตาก | 32 | 2567 |
7 | น้ าแม่ยางมิ้น | ศรีถ้อย | แม่สรวย | เชียงราย | 54 | 2568 |
8 | น้ าห้วยแม่นิง | กองแขก | แม่แจ่ม | เชียงใหม่ | 27 | 2568 |
9 | ห้วยกองแปโกร | แม่วะหลวง | ท่าสองยาง | ตาก | 29 | 2569 |
10 | ห้วยโป่งแสนปิก | นาปปู่ ้อม | ปางมะผ้า | แม่ฮ่องสอน | 26 | 2569 |
| รวมโครงการโรงไฟฟ้าพลังน าชุมชน 10 โครงการ | | 419 | |
แผนพัฒนาโครงการไฟฟ้าพลังน าขนาดเล็ก (ก าลังการผลิตตั งแต่ 200 กิโลวตั ต์ขึ นไป)
ล าดับ | โครงการ | ที่ตั ง | ก าลังผลิต (กิโลวัตต์) | ปี ด าเนินการ |
ต าบล | อ าเภอ | จังหวัด |
1 | น้ าแม่นาวาง | บ้านหลวง | แม่อาย | เชียงใหม่ | 719 | 2561 |
2 | ห้วยน้ าคื้อ | ห้วยเฮี้ย | นครไทย | พิษณุโลก | 798 | 2561 |
3 | แม่โม่งหลวง | กองแขก | แม่แจ่ม | เชียงใหม่ | 739 | 2562 |
4 | ห้วยใหญ่ | วังนกแอ่น | วังทอง | พิษณุโลก | 1,328 | 2563 |
5 | แม่น้ านา่ น | งอบ | ทุ่งช้าง | น่าน | 988 | 2563 |
6 | แม่สะเรียง | ป่าแป๋ | แม่สะเรียง | แม่ฮ่องสอน | 929 | 2563 |
7 | น้ าแม่สาว | แม่สาว | แม่อาย | เชียงใหม่ | 831 | 2564 |
8 | แม่สา | ยวยหัวนา | เวียงสา | น่าน | 792 | 2564 |
9 | ห้วยลายยาน้อย | แม่ละมุ้ง | อุ้มผาง | ตาก | 672 | 2564 |
10 | น้ าแม่โถ-เวียงป่าเปา้ | แม่เจดีย์ใหม่ | เวียงป่าเปา้ | เชียงราย | 430 | 2564 |
11 | น้ าแม่โถ-แม่ลาน้อย | แม่โถ | แม่ลาน้อย | แม่ฮ่องสอน | 426 | 2564 |
12 | น้ าแม่สลอง | แม่สลองใน | แม่ฟ้าหลวง | เชียงราย | 527 | 2565 |
13 | คลองโป่งน้ าร้อน (คีรีธาร 2) | โป่งน้ าร้อน | โป่งน้ าร้อน | จันทบุรี | 6,200 | 2565 |
14 | คลองทุ่งเพลบน | พลวง | คิชฌกูฎ | จันทบุรี | 2,800 | 2565 |
15 | ห้วยแม่แมะแง่ซ้าย | แม่นะ | เชียงดาว | เชียงใหม่ | 453 | 2566 |
16 | แม่ตะมาน | กิ้ดช้าง | แม่แตง | เชียงใหม่ | 408 | 2567 |
17 | แม่แอบ | บ้านแซว | เชียงแสน | เชียงราย | 409 | 2568 |
18 | บ้านพะน้อย | แม่สลองใน | แม่ฟ้าหลวง | เชียงราย | 314 | 2568 |
19 | น้ าแม่ลาก๊ะ | เมืองปอน | ขุมยวม | แม่ฮ่องสอน | 369 | 2569 |
20 | ห้วยแม่โขง | แม่สวด | สบเมย | แม่ฮ่องสอน | 345 | 2569 |
21 | ห้วยท่ากวย1 | เจ้าวัด | บ้านไร่ | อุทัยธานี | 424 | 2570 |
22 | ห้วยท่ากวย2 | เจ้าวัด | บ้านไร่ | อุทัยธานี | 328 | 2571 |
23 | ห้วยแก่งปันเต้า | แม่นะ | เชียงดาว | เชียงใหม่ | 224 | 2571 |
24 | คลองหรา | สองแพรก | เมืองพังงา | พังงา | 2,961 | 2572 |
25 | บ้านบางกุ่ม | กะปง | กะปง | พังงา | 987 | 2572 |
26 | คลองกะปง | กะปง | กะปง | พังงา | 886 | 2573 |
27 | คลองเหมน | ช้างกลาง | ช้างกลาง | นครศรีธรรมราช | 561 | 2573 |
28 | คลองล าพนู | ล าพูน | นาสาร | สุราษฎร์ธานี | 707 | 2574 |
29 | คลองขุดด้วน | ละอาย | ฉวาง | นครศรีธรรมราช | 493 | 2574 |
30 | คลองนางยอน | คุระ | คุระบุรี | พังงา | 447 | 2574 |
31 | คลองระแนะ | พิปูน | พิปูน | นครศรีธรรมราช | 436 | 2575 |
32 | คลองท่าแพ | ช้างกลาง | ช้างกลาง | นครศรีธรรมราช | 386 | 2575 |
| รวมก าลังผลิตไฟฟ้าพลังน าขนาดเล็ก 32 โครงการ | 29,317 | |
ภาคผนวก 2
ศักยภาพการผลิตไฟฟ้าจากขยะชุมชนจากกลุ่ม Clusters กระทรวงมหาดไทย
สถานะโครงการก าจัดขยะเพื่อผลิตไฟฟ้าของกลุ่ม Clusters จ านวน 56 โครงการ ก าลังการผลิตไฟฟ้ารวม 400 เมกะวัตต ์
ข้อมูลจากกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2561
ล าดับ | โครงการ | จังหวัด | ปริมาณเสนอ ขายไฟฟ้า (MW) |
1. โครงการที่ ครม. เห็นชอบแล้ว และได้เอกชนแล้ว จ านวน 1 โครงการ 20 MW |
โครงการก าจดั ขยะเพื่อผลติ ไฟฟ้า องค์การบริหารส่วนจังหวัดนนทบรุ ี 1. (คัดเลือกบริษัท เอสพีพีซิค จ ากัด และบริษัทซุปเปอร์เอริ ์ธ เอนเนอรย์ ี จ ากัด) นนทบุรี 20 |
2. โครงการที่ รมว.มท. เห็นชอบแล้ว และอยู่ระหว่างคัดเลือกเอกชน จ านวน 12 โครงการ 131.4 MW |
1. | โครงการผลิตไฟฟ้าเทคโนโลยีเตาเผาแบบตะกรับ เทศบาลเมืองบ้านพรุ | สงขลา | 4.9 |
2. | โครงการผลิตไฟฟ้าเทคโนโลยีพลาสมาแก๊ส ซิฟิเคชั่น องค์การบริหารส่วนต าบลพานทอง | ก าแพงเพชร | 6 |
3. | โครงการโรงไฟฟ้าเชื้อเพลิงขยะ RDF องค์การบริหารส่วนต าบลแพรกษาใหม่ (สายป้อน PTS 424) | สมุทรปราการ | 9.9 |
4. | โครงการโรงไฟฟ้าเชื้อเพลิงขยะ RDF องค์การบริหารส่วนต าบลแพรกษาใหม่ (สายป้อน BTR 416) | สมุทรปราการ | 3 |
5. | โครงการโรงไฟฟ้าเชื้อเพลิงขยะ RDF องค์การบริหารส่วนต าบลแพรกษาใหม่ (สายป้อน BTR 426) | สมุทรปราการ | 3 |
6. | โครงการก าจดั มลู ฝอยด้วยระบบเตาเผาขนาดไม่น้อยกว่า 1,000 ตันต่อวัน ที่ศูนย์ก าจัดมลู ฝอยหนองแขม กรงุ เทพมหานคร | กรุงเทพฯ | 30 |
7. | โครงการก าจดั มลู ฝอยด้วยระบบเตาเผาขนาดไม่น้อยกว่า 1,000 ตันต่อวัน ที่ศูนย์ก าจัดมลู ฝอยอ่อนนุช กรุงเทพมหานคร | กรุงเทพฯ | 30 |
8. | โครงการก่อสร้างระบบก าจัดขยะมูลฝอย ระยะที่ 2 เทศบาลนครนครราชสีมา | นครราชสมี า | 9.9 |
9. | โครงการผลิตกระแสไฟฟ้าเทคโนโลยีแก๊สซิฟิเคชั่น เทศบาลเมืองสวรรคโลก | สุโขทัย | 2 |
10. | โครงการผลิตกระแสไฟฟ้าจากขยะมูลฝอย เทศบาลนครนครศรีธรรมราช | นครศรีธรรมราช | 19.8 |
11. | โครงการก่อสร้างและบริหารจัดการระบบก าจัดขยะมูลฝอยชุมชน เทศบาลนครยะลา | ยะลา | 3 |
12. | โครงการแปรรูปขยะเป็นพลังงานไฟฟ้าขนาด 9.9 เมกะวัตต์ ของเทศบาลเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม | มหาสารคาม | 9.9 |
3. โครงการที่อยู่ระหว่างการพิจารณาคณะกรรมการกลั่นกรอง และคณะกรรมการกลางฯ จ านวน 4 โครงการ 30.3 MW |
1. | โครงการก าจดั ขยะมูลฝอยเพื่อผลติ กระแสไฟฟ้า เทศบาลต าบลหนองมะโมง | ชัยนาท | 5 |
2. | โครงการโรงไฟฟ้าที่ใช้ขยะเป็นเชื้อเพลิง เทศบาลต าบลวัฒนานคร | สระแก้ว | 6 |
ล าดับ | โครงการ | จังหวัด | ปริมาณเสนอ ขายไฟฟ้า (MW) |
3. | โครงการผลิตกระแสไฟฟ้าเทคโนโลยี MBT Biological Treatment Technology องค์การบริหารส่วนต าบลบางเสาธง | สมุทรปราการ | 9.8 |
4. | โครงการบริหารจัดการขยะมูลฝอยเพื่อผลิตเชื้อเพลิง RDF และผลิตไฟฟ้า องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ | เชียงใหม่ | 9.5 |
4. โครงการที่อยู่ระหว่างการจัดท าข้อเสอนโครงการ/แผนงานฯ จ านวน 39 โครงการ 218.3 MW | |
4.1 ภาคกลาง จ านวน 13 โครงการ 92.2 เมกะวัตต์ | |
1. | โครงการก าจดั ขยะมูลฝอยเพื่อผลติ กระแสไฟฟ้า เทศบาลต าบลท่าตะโก | นครสวรรค์ | 0.5 |
2. | โครงการก าจดั ขยะมูลฝอยเพื่อผลติ กระแสไฟฟ้า เทศบาลต าบลหันคา | ชัยนาท | 1 |
3. | โครงการก าจดั ขยะมูลฝอยเพื่อผลติ กระแสไฟฟ้า เทศบาลต าบลบ้านหมี่ | ลพบุรี | 0.5 |
4. | โครงการก าจดั ขยะมูลฝอยเพื่อผลติ กระแสไฟฟ้า เทศบาลต าบลท่าจนี | สมุทรสาคร | 3.9 |
5. | โครงการก าจดั ขยะมูลฝอยเพื่อผลติ กระแสไฟฟ้า เทศบาลต าบลนาดี | สมุทรสาคร | 1.5 |
6. | โครงการก าจดั ขยะมูลฝอยเพื่อผลติ กระแสไฟฟ้า องค์การบริหารส่วนต าบลคลองมะเดื่อ | สมุทรสาคร | 1 |
7. | โครงการก าจดั ขยะมูลฝอยเพื่อผลติ กระแสไฟฟ้า เทศบาลนครพิษณโุ ลก | พิษณุโลก | 10 |
8. | โครงการก าจดั ขยะมูลฝอยเพื่อผลติ กระแสไฟฟ้า อบต.เชียงรากใหญ่ | ปทุมธานี | 30 |
9. | โครงการก าจดั ขยะมูลฝอยเพื่อผลติ กระแสไฟฟ้า เทศบาลเมืองสุโขทยั ธานี | สุโขทัย | 3 |
10. | โครงการก าจดั ขยะมูลฝอยเพื่อผลติ กระแสไฟฟ้า เทศบาลต าบลท่าเสด็จ | สุพรรณบุรี | 9.9 |
11. | โครงการก าจดั ขยะมูลฝอยเพื่อผลติ กระแสไฟฟ้า องค์การบริหารส่วนต าบลพลับพลาไชย | สุพรรณบุรี | 20 |
12. | โครงการก าจดั ขยะมูลฝอยเพื่อผลติ กระแสไฟฟ้า เทศบาลเมืองเพชรบูรณ์ | เพชรบูรณ์ | 3 |
13. | โครงการก าจดั ขยะมูลฝอยเพื่อผลติ กระแสไฟฟ้า เทศบาลต าบลท่าแลง | เพชรบุรี | 7.9 |
4.2 ภาคเหนือ จ านวน 6 โครงการ 51 เมกะวัตต์ | |
14. | โครงการก าจดั ขยะมูลฝอยเพื่อผลติ กระแสไฟฟ้า เทศบาลต าบลศรีโพธิ์ศรีเงิน | เชียงราย | 9.8 |
15. | โครงการก าจดั ขยะมูลฝอยเพื่อผลติ กระแสไฟฟ้า เทศบาลนครเชียงราย | เชียงราย | 9.8 |
16. | โครงการก าจดั ขยะมูลฝอยเพื่อผลติ กระแสไฟฟ้า องค์การบริหารส่วนจังหวัดล าพูน | ล าพูน | 10 |
17. | โครงการก าจดั ขยะมูลฝอยเพื่อผลติ กระแสไฟฟ้า เทศบาลต าบลเวียงฝาง | เชียงใหม่ | 10.6 |
18. | โครงการก าจดั ขยะมูลฝอยเพื่อผลติ กระแสไฟฟ้า เทศบาลต าบลบ้านหลวง | เชียงใหม่ | 1 |
19. | โครงการก าจดั ขยะมูลฝอยเพื่อผลติ กระแสไฟฟ้า องค์การบริหารส่วนต าบลพญาแมน | อุตรดิตถ์ | 9.8 |
4.3 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จ านวน 14 โครงการ 21.2 เมกะวัตต์ | |
20. | โครงการก าจดั ขยะมูลฝอยเพื่อผลติ กระแสไฟฟ้า องค์การบริหารส่วนต าบลกุดเค้า | ขอนแก่น | 1 |
ล าดับ | โครงการ | จังหวัด | ปริมาณเสนอ ขายไฟฟ้า (MW) |
21. | โครงการก าจดั ขยะมูลฝอยเพื่อผลติ กระแสไฟฟ้า เทศบาลต าบลอุบลรัตน์ | ขอนแก่น | 0.5 |
22. | โครงการก าจดั ขยะมูลฝอยเพื่อผลติ กระแสไฟฟ้า เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด | ร้อยเอ็ด | 1.5 |
23. | โครงการก าจดั ขยะมูลฝอยเพื่อผลติ กระแสไฟฟ้า เทศบาลต าบลโพนทอง | ร้อยเอ็ด | 3 |
24. | โครงการก าจดั ขยะมูลฝอยเพื่อผลติ กระแสไฟฟ้า เทศบาลต าบลอุ่มเม้า | ร้อยเอ็ด | 5 |
25. | โครงการก าจดั ขยะมูลฝอยเพื่อผลติ กระแสไฟฟ้า เทศบาลต าบลเกษตรวิสยั | ร้อยเอ็ด | 6.2 |
26. | โครงการก าจดั ขยะมูลฝอยเพื่อผลติ กระแสไฟฟ้า เทศบาลเมืองหนองคาย | หนองคาย | 0.5 |
27. | โครงการก าจดั ขยะมูลฝอยเพื่อผลติ กระแสไฟฟ้า เทศบาลเมืองท่าบ่อ | หนองคาย | 0.5 |
28. | โครงการก าจดั ขยะมูลฝอยเพื่อผลติ กระแสไฟฟ้า เทศบาลต าบลศรีเชียงใหม่ | หนองคาย | 0.5 |
29. | โครงการก าจดั ขยะมูลฝอยเพื่อผลติ กระแสไฟฟ้า เทศบาลต าบลเซิม | หนองคาย | 0.5 |
30. | โครงการก าจดั ขยะมูลฝอยเพื่อผลติ กระแสไฟฟ้า เทศบาลต าบลจมุ พล | หนองคาย | 0.5 |
31. | โครงการก าจดั ขยะมูลฝอยเพื่อผลติ กระแสไฟฟ้า เทศบาลต าบลกุดบง | หนองคาย | 0.5 |
32. | โครงการก าจดั ขยะมูลฝอยเพื่อผลติ กระแสไฟฟ้า เทศบาลเมืองปัก | นครราชสมี า | 0.5 |
33. | โครงการก าจดั ขยะมูลฝอยเพื่อผลติ กระแสไฟฟ้า เทศบาลต าบลสูงเนิน | นครราชสมี า | 0.5 |
4.4 ภาคตะวันออก จ านวน 2 โครงการ 31.4 เมกะวัตต์ | | |
34. | โครงการก าจดั ขยะมูลฝอยเพื่อผลติ กระแสไฟฟ้า เทศบาลเมืองศรีราชา | ชลบุรี | 7.4 |
35. | โครงการก าจดั ขยะมูลฝอยเพื่อผลติ กระแสไฟฟ้า เทศบาลเมืองพัทยา | ชลบุรี | 24 |
4.5 ภาคใต้ จ านวน 4 โครงการ 22.5 เมกะวัตต์ | | |
36. | โครงการก าจดั ขยะมูลฝอยเพื่อผลติ กระแสไฟฟ้า เทศบาลนครสงขลา | สงขลา | 4.6 |
37. | โครงการก าจดั ขยะมูลฝอยเพื่อผลติ กระแสไฟฟ้า เทศบาลเมืองชุมพร | ชุมพร | 3 |
38. | โครงการก าจดั ขยะมูลฝอยเพื่อผลติ กระแสไฟฟ้า เทศบาลเมืองปัตตานี | ปัตตานี | 5 |
39. | โครงการก าจดั ขยะมูลฝอยเพื่อผลติ กระแสไฟฟ้า เทศบาลเมืองพัทลุง | พัทลุง | 9.9 |